วันอังคารที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2551

ส่งการบ้านรหัสแอสกี

ผมชื่อนายกิติพงศ์ พรมศักดิ์
รหัสนักศึกษา 4912252101
วิทยาการคอมพิวเตอร์

การบ้าน
MR.KITIPONG PROMSAK

MR.KITIPONG

4D, 52, 2E, 4B, 49, 54, 49, 50, 4F, 4E, 47

0100 1101, 0101 0010, 0010 1011, 0100 1001, 0101 0100, 0100 1001, 0101 0000, 0100 1111, 0100 1110, 0100 0111

PROMSAK

50, 52, 4F, 4D ,53, 41, 4B

0101 0000, 0101 0010, 0100 1111, 0100 1101, 0101 0011, 0100 0001, 0100 1011

เบอร์โทรศัพท์ 0878894109

30, 38, 37, 38, 38, 39, 34, 31, 30, 39

0011 0000, 0011 1000, 0011 0111, 0011 1000, 0011 1000, 0011 1001, 0011 0100, 0011 0001, 0011 0000, 0011 1001,

วันจันทร์ที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2551

หลักการออกแบบ Optical Fiber Digital Communication

แบบฝึกหัด
ข้อ1.
30 mbit ระยะทาง 45 km
1.Preformanc = ไม่ระบุ
2.BL = 30*45 =1,350
3.เลือก optical source เลือก LED power ที่ -15
เพราะ ราคาประหยัด
4.เลือก optical fiber เลือก Graded Index Multimode
เพราะ ลองรับ BL แบร์นวิด ที่ 1.5 GHz/km
5.เลือก optical detector เลือก PIN - FET มีค่า sensitivity -60
เพราะ ราคาประหยัด
6.Lmax = Po - Por
แทนค่า (-15) - (-60)
= 65
7.Lf = Lmax (Lc + Ls + Pm)
กำหนด Lc = 0.50
กำหนด Ls = 1db
กำหนด Pm = 6db
แทนค่า Lf = 65- (0.50 +1 +6
= 57.50
8.Dmax = Lf/Lfimax
Lf = 57.50
Lfimax = 2
แทนค่า 57.50/2
= 28.75km


***************************************************************************************

ข้อ2.
50 mbit ระยะทาง 100 km
1.Preformanc = ไม่ระบุ
2.BL = 50*100 = 5,000
3.เลือก optical source เลือก LED power ที่ -20
เพราะ ราคาประหยัด
4.เลือก optical fiber เลือก Graded Index Multimode
เพราะ ลองรับ BL แบร์นวิด ที่ 1.5 GHz/km
5.เลือก optical detector เลือก PIN - FET มีค่า sensitivity -50
เพราะ ราคาประหยัด
6.Lmax = Po - Por
แทนค่า (-20) - (-50)
= 70
7.Lf = Lmax (Lc + Ls + Pm)
กำหนด Lc = 0.50
กำหนด Ls = 1db
กำหนด Pm = 5db
แทนค่า Lf = 70- (0.50 +1 +5)
= 31.75
8.Dmax = Lf/Lfimax
Lf = 63.50
Lfimax = 2
แทนค่า 63.50/2

= 31.57kmล

เส้นใยแก้วนนำแสง

เส้นใยแก้วนำแสง

เส้นใยแก้วนำแสง (fiber optic) คืออะไร
เส้นใยแก้วนำแสงหรือไฟเบอร์ออปติก เป็นตัวกลางของสัญญาณแสงชนิดหนึ่ง ที่ทำมาจากแก้วซึ่งมีความบริสุทธิ์สูงมาก
เส้นใยแก้วนำแสงมีลักษณะเป็นเส้นยาวขนาดเล็ก มีขนาดประมาณเส้นผมของมนุษย์เรา เส้นใยแก้วนำแสงที่ดี
ต้องสามารถนำสัญญาณแสงจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่งได้ โดยมีการสูญเสียของสัญญาณแสงน้อยมากเส้นใยแก้วนำแสง
สามารถแบ่งตามความสามารถในการนำแสงออกได้เป็น 2 ชนิด
คือ เส้นใยแก้วนำแสงชนิดโหมดเดี่ยว (Singlemode Optical Fibers, SM) และชนิดหลายโหมด (Multimode Optical Fibers, MM) ในปัจจุบันได้มีการพัฒนาเส้นใยแก้วนำแสง ที่ทำมาจากพลาสติกเพื่องานบางอย่างที่ไม่คำนึงถึงการสูญเสียสัญญาณมากนัก เช่น การสื่อสารในระยะทางสั้น ๆ ไม่กี่เมตร

เส้นใยแก้วนำแสงประกอบด้วยส่วนสำคัญ 2 ส่วน
คือ ส่วนที่เป็นตัวกลางนำแสงซึ่งทำจากวัสดุ เช่น แก้ว พลาสติก เรียกว่าแกน (core) กับส่วนที่เป็นที่ห่อหุ้มแกน (cladding)
โดยดัชนีหักเหของที่ห่อหุ้มแกนจะมีค่าน้อยกว่าดัชนีหักเหของแกนทั้งนี้ก็เพื่อกั้นไม่ให้แสงภายในเส้นใยแก้วนำแสงทะลุออกมาภายนอก
เส้นใยแก้วนำแสงบางรุ่นจะมีเพียงแกนกับที่ห่อหุ้มแกนเท่านั้น จึงทำให้เส้นใยแก้วนำแสงดังกล่าวมีขนาดเล็กมาก
แต่ ในเส้นใยแก้วนำแสงที่ใช้งานทั่วไปนั้นถัดจากส่วนที่ห่อหุ้มแกนออกมา จะเป็นส่วนที่ห่อหุ้มสำหรับทำหน้าที่ป้องกันการฉีกขาดของเส้นใยแก้วนำแสง
และเป็นส่วนที่รองรับแรงดึงแรงบิดที่กระทำต่อเส้นใยแก้วนำแสง รวมทั้งป้องกันไม่ให้แสงหรือรังสีอินฟราเรดจากภายนอกเข้ามารบกวนสัญญาณ
ภายในเส้นใยแก้วนำแสง ส่วนห่อหุ้มนี้มักจะทำจากวัสดุเหนียวสีดำ
สำหรับเส้นใยแก้วนำแสงบางรุ่นที่มีขนาดใหญ่มาก จะมีการใส่สายเคเบิ้ลโลหะด้วยเพื่อเพิ่มความแข็งแรงทนทาน
ใน อาคารบ้านเรือน ที่อยู่อาศัย สำนักงานอาคารอุตสาหกรรมต่างๆ ล้วนแล้วแต่ต้องใช้สายสัญญาณเพื่อเชื่อมโยงระบบสื่อสาร แต่เดิมสายสัญญาณที่นำมาใช้
ได้แก่ สายตัวนำทองแดง ปัจจุบันสายสัญญาณระบบสื่อสารมีความจำเป็นมากขึ้น โดยเฉพาะ ระบบการเชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์
และมีแนวโน้มที่จะรวมระบบสื่อสาร อย่างอื่นประกอบเข้ามาในระบบด้วย เช่น ระบบเคเบิลทีวี ระบบโทรศัพท์
ระบบการบริการข้อมูลข่าวสารเฉพาะของบริษัทผู้ให้บริการต่างๆ ความจำเป็นลักษณะนี้ จึงมีผู้ตั้งคำถามว่า ถึงเวลา
แล้วหรือยังที่จะให้อาคารที่สร้างใหม่ มีระบบเครือข่ายสายสัญญาณด้วยเส้นใยแก้วนำแสง หากพิจารณาให้ดีพบว่า เวลานั้นได้มาถึงแล้ว
ปัจจุบัน ราคาของเส้นใยแก้วนำแสงที่เดินในอาคารมีราคาใกล้เคียงกับสาย UTP แบบเกรดที่ดี เช่น CAT 5 ขณะเดียวกันสายเส้นใยแก้วนำแสง ให้ประสิทธิภาพที่สูงกว่ามาก และรองรับการใช้งานในอนาคตได้มากกว่า สายยูทีพี (UTP) แบบ CAT 5 รองรับความเร็วสัญญาณ
ได้ 100 เมกะบิตต่อวินาที และมีข้อจำกัดในเรื่องความยาวเพียง 100 เมตร ขณะที่สายใยแก้วนำแสงรองรับความถี่สัญญาณได้หลายร้อยเมกะเฮิรตซ์
และยังใช้ได้กับ ความยาวถึง 2,000 เมตร การพัฒนาในเรื่องต่างๆของเส้นใยแก้วนำแสงได้ก้าวมาถึงจุดที่จะนำมาใช้กันอย่างกว้างขวางแล้ว
บทความนี้จึงขอนำเสนอเพื่อแสดงให้เห็นว่า เส้นใยแก้วนำแสงมีจุดเด่นอย่างไร มีแนวโน้มการใช้งานด้านใดบ้าง
และที่สำคัญคือ จะได้เป็นข้อมูลสำหรับการศึกษา และทำความเข้าใจกับเส้นใยแก้วนำแสง เพื่อว่าจะได้เห็นข้อดีข้อเสีย
รวมถึงแนวทางการนำมา ประยุกต์ให้คุ้มค่า โดยเฉพาะการมองแนวทางของเทคโนโลยีในระยะไกล

จุดเด่นของสายใยแก้วนำแสง
จุดเด่นของเส้นใยแก้วนำแสงมีหลายประการ โดยเฉพาะจุดที่ได้เปรียบสายตัวนำทองแดง
ที่จะนำมาใช้แทนตัวนำทองแดง จุดเด่นเหล่านี้ มีการพัฒนามาอย่างต่อเนื่อง และดีขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งประกอบด้วย
ความสามารถในการรับส่งข้อมูลข่าวสาร เส้นใยแก้วนำแสงที่เป็นแท่งแก้ว ขนาดเล็ก มีการโค้งงอได้
ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางที่ใช้กันมากคือ 62.5/125 ไมโครเมตร เส้นใยแก้วนำแสงขนาดนี้ เป็นสายที่นำมาใช้ภายในอาคารทั่วไป
เมื่อใช้กับคลื่นแสงความยาวคลื่น 850 นาโนเมตร จะส่งสัญญาณได้มากกว่า 160 เมกะเฮิรตซ์ ที่ความยาว 1 กิโลเมตร
และถ้าใช้ความยาวคลื่น 1,300 นาโนเมตร จะส่งสัญญาณได้กว่า 500 เมกะเฮิรตซ์ ที่ความยาว 1 กิโลเมตร
และถ้าลดความยาวลงเหลือ 100 เมตร จะใช้กับความถี่ของสัญญาณมากกว่า 1 กิกะเฮิรตซ์ได้
ดังนั้นจึงดีกว่าสายยูทีพีแบบแคต 5 ที่ใช้กับสัญญาณได้ 100 เมกะเฮิรตซ์

กำลังสูญเสียต่ำ
เส้นใยแก้วนำแสงมีคุณสมบัติในเชิงการให้แสงวิ่งผ่านได้ การบั่นทอนแสงมีค่าค่อนข้างต่ำ ตามมาตรฐานของเส้นใยแก้วนำแสง
การใช้เส้นสัญญาณนำแสงนี้ใช้ได้ยาวถึง 2,000 เมตร หากระยะทางเกินกว่า 2,000 เมตร ต้องใช้ รีพีตเตอร์ทุกๆ 2,000 เมตร
การสูญเสียในเรื่องสัญญาณจึงต่ำกว่าสายตัวนำทองแดงมาก ที่สายตัวนำทองแดงมีข้อกำหนดระยะทางเพียง 100 เมตร
หากพิจารณาในแง่ความถี่ที่ใช้ ผลตอบสนองทางความถี่มีผลต่อกำลังสูญเสีย โดยเฉพาะในลวดตัวนำทองแดง เมื่อใช้เป็นสายสัญญาณ
คุณสมบัติ ของสายตัวนำทองแดงจะเปลี่ยนแปลง เมื่อใช้ความถี่ต่างกัน โดยเฉพาะเมื่อใช้ความถี่ของสัญญาณที่ส่งในตัวนำทองแดง สูงขึ้น
อัตราการสูญเสียก็จะมากตามแต่กรณีของเส้นใยแก้วนำแสง เราใช้สัญญาณความถี่มอดูเลตไปกับแสง การเปลี่ยน
สัญญาณรับส่งข้อมูลจึงไม่มีผลกับกำลังสูญเสียทางแสง

คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าไม่สามารถรบกวนได้
ปัญหาที่สำคัญของสายสัญญาณ แบบทองแดง คือ การเหนี่ยวนำโดยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ปัญหานี้มีมาก
ตั้งแต่เรื่องการรบกวนระหว่างตัวนำหรือเรียกว่า Crosstalk การไม่แมตซ์พอดีทางอิมพีแดนซ์ ทำให้มีคลื่นสะท้อนกลับ
การรบกวนจากปัจจัย ภายนอกที่เรียกว่า EMI ปัญหาเหล่านี้สร้างให้ผู้ใช้ต้องหมั่นดูแล แต่สำหรับเส้นใยแก้วนำแสง แล้ว
ปัญหาเรื่องเหล่านี้จะไม่มี เพราะแสงเป็นพลังงานที่มีพลังงานเฉพาะ และไม่ถูกรบกวนโดยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า การเดินทาง
ในเส้นแก้วก็ปราศจากการรบกวนของแสงจากภายนอก

น้ำหนักเบา
เส้นใยแก้วนำแสงมีน้ำหนักเบากว่าเส้นลวดตัวนำทองแดง น้ำหนัก ของเส้นใยแก้วนำแสงขนาด 2 แกนที่ใช้ทั่วไป
มีน้ำหนักเพียงประมาณ 20 ถึง 50 เปอร์เซนต์ของสาย UTP แบบ CAT 5

ขนาดเล็ก
เส้น ใยแก้วนำแสงมีขนาดทางภาคตัดขวางแล้ว เล็กกว่าลวดทองแดง มาก ขนาดของเส้นใยแก้วนำแสง เมื่อรวมวัสดุหุ้มแล้วมีขนาดเล็กกว่าสายยูทีพี
โดยขนาดของสายใยแก้วนี้ใช้พื้นที่ประมาณ 15 เปอร์เซนต์ ของเส้นลวดยูทีพีแบบ CAT 5

มีความปลอดภัยในเรื่องข้อมูลสูงกว่า
การใช้เส้นใยแก้วนำแสงมีลักษณะใช้ แสงเดินทางในข่าย จึงยากที่จะทำการแท๊ปหรือทำการดักฟังข้อมูล
มีความปลอดภัยต่อชีวิตและทรัพย์สิน
การที่เส้นใยแก้วเป็นฉนวนทั้งหมด จึงไม่นำกระแสไฟฟ้า การลัดลงจร การเกิดอันตรายจากกระแสไฟฟ้าจึงไม่เกิดขึ้น

เส้นใยแก้วนำแสงมีราคาแพง
แนวโน้มทางด้านราคามีการเปลี่ยนแปลงราคาของเส้นใยแก้วนำแสงลดลง จนในขณะนี้ยังแพงกว่าสายยูททีพีอยู่บ้าง แต่ก็ไม่มากนักนอกจากนี้
หลาย คนยังเข้าใจว่า การติดตั้งเส้นใยแก้วนำแสงมีข้อยุ่งยาก และต้องใช้คนที่มีความรู้ความชำนาญ เสียค่าติตั้งแพง ความคิดนี้ก็คงไม่จริง
เพราะการติดตั้งทำได้ไม่ยากนักเนื่องจากมีเครื่องมือพิเศษช่วยได้มาก เครื่องมือพิเศษนี้สามารถเข้าหัวสายได้โดยง่ายกว่าแต่เดิมมาก
อีกทั้งราคาเครื่องมือก็ถูกลงจนมีผู้รับติดตั้งได้ทั่วไป

เส้นใยแก้วนำแสงยังไม่สามารถใช้กับเครื่องที่ตั้งโต๊ะได้
ปัจจุบันพีซีที่ใช้ส่วนใหญ่ต่อกับแลนแบบอีเธอร์เน็ต ซึ่งได้ความเร็ว 10 เมกะบิต การเชื่อมต่อกับแลนมีหลายมาตรฐาน
โดยเฉพาะปัจจุบันหากใช้ความเร็วเกินกว่า 100 เมกะบิต สายยูทีพีรองรับไม่ได้ เช่น เอทีเอ็ม 155 เมกะบิต
แนว โน้มของการใช้งานระบบเครือข่ายมีทางที่ต้องใช้แถบกว้างสูงขึ้นมาก โดยเฉพาะเมื่อต้องการให้พีซีเป็นมัลติมีเดียเพื่อแสดงผลเป็นภาพวิดีโอ
การใช้เส้นใยแก้วนำแสงดูจะเป็นทางออก พัฒนการของการ์ดก็ได้พัฒนาไปมากเอทีเอ็มการ์ดใช้ความเร็ว 155 เมกะบิต
ย่อมต้องใช้เส้นใยแก้วนำแสงรองรับ การใช้เส้นใยแก้นำแสงยังสามารถใช้ในการส่งรับวิดีโอคอนเฟอเรนซ์
หรือสัญญาณประกอบอื่น ๆ ได้ดี

สรุปคำสั่ง ospf

สรุปคำสั่ง OSPF

OSPF เป็นเร้าติ้งโปรโตคอลที่ได้รับการพัฒนาขึ้นมาใช้บนเน็ตเวิร์ก IP โดยคณะทำงาน Interior Gateway Protocol (IGP) ย่อยแห่งคณะกรรมการ Internet Engineering Task Force (IETF) คณะทำงานนี้ได้ถูกก่อตั้งมาตั้งแต่ปี 1998 เพื่อทำหน้าที่ออกแบบเร้าติ้งโปรโตคอลที่ใช้บนเน็ตเวิร์กภายในองค์กร โดยมีพื้นฐานมาจากอัลกอริทึมในทางคอมพิวเตอร์แบบ Shortest Path First (SPF) อัลกอริทึมนี้มีอีกชื่อเรียกหนึ่งว่า Dijkstra’S Algorithm ซึ่งเป็นชื่อที่ตั้งตามชื่อของนักคณิตศาสตร์ที่เป็นผู้ออกแบบและคิดค้นอับกอ ริทึมนี้

OSPFได้รับการออกแบบมาเพื่อเอาชนะข้อจำกัดต่าง ๆที่เคยมีในเร้าติ้งโปรโตคอลแบบ Distance Vector OSPF นั้นสามารถตอบสนองได้รวดเร็วต่อการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในเน็ตเวิร์ก และมีการส่ง “triggered updates” ไปในทันทีโดยอัตโนมัติ และส่ง “Periodix update” ไปทุก ๆ ช่วงเวลาเช่น ทุก ๆ 30 นาที นอกจากนั้นยังมีกลไกล ที่ดีในการตรวจสอบสถานการณ์สื่อสาร ระหว่างเร้าเตอร์ปัจจุบันกับเร้าเตอร์ข้างเคียงต่าง ๆ ด้วย “ Hello Mechanism”

โดยสรุปแล้ว OSPF มีคุณลักษณะที่สำคัญได้แก่
- เป็นเร้าติ้งโปรโตคอลมาตรฐานและเป็นมาตรฐานสากล ข้อกำหนดและพฤติกรรมต่าง ๆ ได้รับการอธิบายไว้อย่างชัดเจนใน RFC (Request for Comments) IETF ได้พัฒนา OSPF ขึ้นมาในปี 1988 ส่วนเวอร์ชันล่าสุดซึ่งรู้จักกันในนาม OSPF เวอร์ชัน 2 ได้รับการอธิบายไว้ใน RFC 2328
- เป็นเร้าติ้งโปรโตคอลที่อาศัยการอัปเดตสถานะของเน็ตเวิร์กอินเตอร์เฟซไปให้ กับเร้าเตอร์เพื่อบ้านแล้วให้เร้าเตอร์เพื่อนบ้านสร้างภาพรวมของเน็ตเวิร์ กทั้งหมด และคำนวณหาเส้นทางเอง แต่จะไม่ ส่งเร้าติ้งเทเบิลทั้งตารางไปให้เร้าเตอร์เพื่อนบ้านเหมือนกันในกรณีของ Distance Vector
- มีการเลือกเส้นทางที่สั้นที่สุดโดยพิจารณาจากแบนด์วิดธ์ (Bandwidth)
-รอง รับการตั้งแอดเดรสแบบมีจำนวนบิตของ Subnet Mask ไม่เท่ากัน (Variable Length Subnet Mask: VLSM) และมีการส่ง Subnet Mask ไปให้เร้าเตอร์เพื่อนบ้านด้วย
-รอง รับการสร้างสิ่งที่เรียกว่า “OSPF Area” ซึ่งสามารถทำให้เน็ตเวิร์กที่ใช้งาน OSPF สามารถจัดแบ่งเน็ตเวิร์กออกเป็นโซนหรือพื้นที่ย่อย ๆ ได้ (เรียกว่าการแบ่ง Area) ทั้งนี้เพื่อจำกัดสโคป หรือขอบเขตของการเปลี่ยนแปลงเน็ตเวิร์กโทโพโลยี
-รอบรับการทำ “Route summarization”
-รองรับการทำการกระจายแพ็กเก็ตไปบนเส้นทางที่มีแบนด์วิดธ์เท่ากัน
-สามารถทำ “Route authentication” ระหว่างเร้าเตอร์เพื่อตรวจสอบตัวตนซึ่งกันและกันก่อน
ที่จะมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกัน
-ไวมากต่อพฤติกรรมการเปลี่ยนแปลงเน็ตเวิร์กโทโพโลยี (Fast convergence)
Wireshark เป็นโปรแกรมที่ใช้ในการดักจับ Packet ที่มีการรับส่งกันบนเครือข่าย ในการดักจับ Packet นั้น โปรแกรม Wireshark นั้นจะต้องทำงานที่เครื่องคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายนั้น
Network Diagram ที่ใช้ Wireshark ในการดักจับ packet แสดงภาพของ Network Diagram ที่ใช้ในการดักจับ Packet ของการทำงานของ Open Shortest Path First (OSPF) Protocol ซึ่งจะเป็นการติดต่อเปลี่ยนแปลง Update Routing Protocol ระหว่าง Core Switch และ Router ใน Area เดียวกับการค้นหาเร้าเตอร์ ข้างเคียงที่รัน OSPF จะเกิดขึ้นด้วยการส่งแพ็กเก็ตพิเศษที่เรียกว่า HELLO PACKET ออกไปไปโดยใช้มัลติคาสก์แอดเดรส 224.0.0.5 หลังจากนั้นแอดเดรสของเร้าเตอร์ ข้างเคียงที่ค้นพบได้จะถูกเก็บไว้ในตาราง OSPF Neighbor Table
ผลลัพธ์ที่ได้จะแสดงหมายเลข IP Address ของเร้าเตอร์ และ Switch ข้างเคียง แต่ละตัวที่ค้นพบได้ทางซีเรียสอินเตอร์เฟซต่างๆ กัน เมื่อความสัมพันธ์ระหว่างเพื่อนบ้านถูกสร้างขึ้นได้สำเร็จ สถานะ (State) ที่เห็นจะอยู่ในสถานะ FULL

หลัง จากฟอร์มความสัมพันธ์ระหว่างกันได้แล้ว เร้าเตอร์จะมีการส่ง Hello packet ออกไปให้เร้าเตอร์เพื่อนบ้านทุก ๆ ระยะๆ ตามช่วงเวลาที่เรียกว่า Hello Interval เพื่อยืนยันว่าตนเองยังมีชีวิตอยู่ หากเร้าเตอร์ไม่ได้ รับ HELLO PACKET มาจาเร้าเตอร์เพื่อนบ้านหลังจากช่วงเวลาที่เรียกว่า Dead Interval ผ่านไปมันตะถือว่าเร้าเตอร์เพื่อนบ้านนั้น ๆ ได้ดาวน์ลงไป
รูปแบบของ Hello Packetในการสร้างความสัมพันธ์ของ Protocol OSPF จาก Core Switch ที่มี Source IP Address เป็น 172.18.19.252 ซึ่งมี Destination IP Address เป็น 244.0.0.5 (Multicast Address)
BGP (Border Gateway Protocol) เป็นโปรโตคอลเลือกเส้นทางประเภท Exterior Gateway Routing ที่ใช้เพื่อการเชื่อมต่อเราเตอร์ (Router) และเครือข่ายที่อยู่ต่างโดเมน (Domain) กันบนอินเทอร์เน็ต
BGP ใช้ Protocol TCP Port หมายเลข 179 เพื่อใช้ในการขนถ่ายข้อมูลข่าวสาร โดยมีการใช้ TCP เพื่อการสถาปนาการเชื่อมต่อก่อนจะแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารระหว่างเราเตอร์ BGP ทั้งสอง (Peer Router) จากนั้นก็จะทำการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร รวมทั้งการเปิดสัมพันธไมตรีก่อนที่จะแลกเปลี่ยนข่าวสารระหว่างกันต่อไป
ข้อมูล ข่าวสารที่เราเตอร์ทั้งสองใช้เพื่อการแลกเปลี่ยนกัน รวมไปถึงข่าวสารที่แสดงถึงความสามารถในการเข้าถึงกันได้ โดยข่าวสารนี้เป็นในรูปแบบของเลขหมาย AS ของแต่ละฝ่าย ซึ่งต่างฝ่ายถือเป็นเส้นทางในการเข้าหากัน ข้อมูลนี้จะช่วยให้เราเตอร์สามารถสร้างผังของเส้นทางที่ปราศจากลูป (Loop) ในการเข้าหากัน อีกทั้งเราเตอร์ยังใช้เพื่อเป็นการกำหนดเส้นทางเชิงนโยบายที่มีเนื้อหาที่ กำหนดข้อจำกัดต่าง ๆ

จุดประสงค์ของการใช้ BGP
1.BGP ให้ประโยชน์อย่างเห็นได้ชัด โดยเฉพาะการเชื่อมต่อเครือข่ายต่าง ๆ รวมทั้งลูกค้า และผู้ให้บริการโทรศัพท์ รวมทั้งเครือข่ายอื่น ๆ
2.BGP เหมาะอย่างยิ่งสำหรับการเชื่อมต่อเครือข่ายในรูปแบบของ Autonomous ต่าง ๆ เข้าด้วยกัน
3.BGP เหมาะอย่างยิ่งสำหรับการเชื่อมต่อเครือข่ายในระดับ Enterprise หากองค์กรของท่านมีการเชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ตแบบหลายเชื่อมต่อเพื่อผลแห่ง Redundancy BGP ก็สามารถทำ Load Balancing Traffic ได้บนเส้นทางที่เป็น Redundant Link
4.จัดเลือกเส้นทางผ่านทางเครือข่ายไปยัง Autonomous System อื่น ๆ ที่เชื่อมต่อกัน
5.มีการเชื่อมต่อระหว่าง Autonomous System มากกว่า 1 เส้น
6.ควบคุมการลำเลียงข้อมูลข่าวสารที่วิ่งไปมาระหว่างระบบ Autonomous System
7.ท่านยังสามารถใช้ Policy ที่กำหนดให้ท่านสามารถเลือกเส้นทางที่ดีที่สุดเพื่อเดินทางไปสู่ปลายทาง

RIP (Routing Information Protocol) เป็นโปรโตคอลที่ใช้อย่างกว้างขวาง สำหรับการจัดการสารสนเทศของ router ภายในเครือข่าย เช่น เครือข่าย LAN ของบริษัท หรือการติดต่อภายในกลุ่ม ของเครือข่าย RIP ได้รับการจัดชั้นโดย Internet Engineering Task Force (IETF) ให้เป็นหนึ่งในโปรโตคอลของ Internet Gateway Protocol (หรือ Interior Gateway Protocol)การใช้ RIP, gateway host (ที่มี router) จะส่งตาราง routing (ซึ่งมีรายการของ host ทั้งหมดที่ทราบ) ไปยัง host ใกล้เคียงทุก 30 วินาที host ใกล้เคียง จะส่งต่อสารสนเทศไปยัง host ต่อไป จนกระทั่งภายในเครือข่าย จะมีข้อมูลเส้นทางเหมือนกัน สถานะนี้เรียกว่า network convergence การหาระยะของเครือข่าย RIP ใช้การนับแบบ hop เป็นวิธีการในการค้นหา (โปรโตคอลอื่นใช้อัลกอริทึมที่ทันสมัยกว่า เช่น เวลา) แต่ละ host ที่มี router ในเครือข่ายใช้ตารางสารสนเทศ routing ในการค้นหา host ต่อไป เพื่อหาเส้นทางให้กับแพ็คเกต สำหรับปลายทางที่กำหนดRIP ได้รับการพิจารณาว่าคำตอบที่มีประสิทธิผล สำหรับเครือข่าย homogeneous ขนาดเล็ก สำหรับเครือข่ายที่ซับซ้อน การส่งผ่านตาราง routing ทุก 30 วินาทีของ RIP อาจจะทำให้จำนวนรวม ของการใช้เครือข่ายหนาแน่นขึ้น

การสอย ccna ccnp ccie

การสอบ ccna ccnp ccie
การสอบ CCNA- ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ network media- การคอนฟิก router เบื้องต้นโดยใช้ Cisco IOS commands
- การติดตั้ง และคอนฟิกเน็ตเวิร์กบน LAN, WAN- เข้าใจ และสามารถคอนฟิก routable protocols (IP, IPX, Apple Talk, etc.)
- เข้าใจ และสามารถคอนฟิก routing protocols (RIP, IGRP, EIGRP, etc.)
- ระบบความปลอดภัยบนเน็ตเวิร์กสถานที่คือกรุงเทพกับเชียงใหม่ส่วนค่าใช้จ่ายในการสอบ ประมาณ 8900 การสอบ CCNPCCNP certification (Cisco Certified Network Professional) เป็น Network Specialist Certification ที่ได้รับการยอมรับทั่วโลก ผู้ที่ได้รับ CCNP Certified นั้นมีความสามารถในการติดตั้ง, ปรับแต่งและแก้ปัญหากับอุปกรณ์ Routers Router, LAN Switching ตลอดจน Access Server ในระดับ enterprise ขององค์กรได้ ทั้งนี้ข้อสอบใหม่ จะเน้นหัวข้อเนื้อหาใหม่ในด้าน security,converged networks, quality of service (QoS), virtual private networks (VPN) และ broadband technologies.
ในการสอบ CCNP มีทั้งหมด 4 วิชาราคาสอบอยู่ที่ประมาณ 6,450 บาท ทุกวิชาเท่ากัน
สถานที่สอบที่ VNOHOWการสอบ CCIECCIE - Cisco Certified Internetwork Expert CCIE
เป็น Cert ระดับสูงของ cisco โดยจะมี 4 Track ย่อยๆ แบ่งไปตามลักษณะของการทำงาน เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ของ Cisco
โดยแต่ละ Track จะแยกจากกันอย่างสิ้นเชิง หากต้องการทำงานในด้านใดในระดับสูง ก็เลือกจากข้อสอบในส่วนนี้Track ย่อย
ประกอบไปด้วยCCIE Service Provider CCIE Routing and Switching CCIE Security CCIE VoiceCisco Certified Internetwork Expert (CCIE) เป็นประกาศนียบัตรขั้นสูงสุด
ในส่วนของ Network Installation and Support Certificationและ Communication and Services Certificationสถานที่สอบ
1. Bangalore (บังกาลอร์,อินเดีย)
2. Beijing (ไบจิง,จีน)
3. Brussels (กรุงบรัสเซล,เบลเยี่ยม)
4. Dubai (ดูไบ)
5. Hongkokg (ฮ่องกง)
6. Research Triangle Park (RTP)
7. San Jose (สองสถานที่ข้างต้น 6,7 อยู่แถวๆโซนอเมริกา).
8. Sao_Paolo (เซ้าเปาโล,บราซิล)
9. Sydney (ซิดนีย์,ออสเตรเลีย)
10. Tokyo (โตเกียว,ญี่ปุ่น)ค่าใช้จ่ายในเรื่อง CCIE Boot CAMP 250000 บาท ค่าสอบ มาคือว่าWriting ค่าสอบ 300 เหรียญ หรือ 10500 บาทLab ค่าสอบ 1250 เหรียญ หรือ 43750 บาทไหนจะค่าบินไปสอบ ค่ากินก็คงตกอยู่ประมาณ 10000 บาท

สอบเก็บคะแนนครั้งที่ 2

1. Router มีกี่โหมด อะไรบ้าง อธิบายให้ละเอียด
ตอบ Routing มีอยู่ 2 แบบ หลักๆ ดังนี้
1. แบบสเตติก (Static Route)
คือการเลือกเส้นทางแบบ Static นี้ การกำหนดเส้นทางการคำนวณเส้นทางทั้งหมด กระทำโดยผู้บริหาจัดการเครือข่าย ค่าที่ถูกป้อนเข้าไปในตารางเลือกเส้นทางนี้มีค่าที่ตายตัว ดังนั้นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นใดๆ บนเครือข่าย จะต้องให้ผู้บริหารจัดการดูแล เครือข่าย เข้ามาจัดการทั้งสิ้น อย่างไรก็ดีการใช้ วิธีการทาง Static เช่นนี้ มีประโยชน์เเหมาะสำหรับเครือข่ายที่มีขนาดเล็กเพื่อผลแห่งการรักษาความปลอดภัยข้อมูล เนื่องจากสามารถแน่ใจว่า ข้อมูลข่าวสารจะต้องวิ่งไปบนเส้นทางที่กำหนดไว้ ช่วยประหยัดการใช้ แบนวิดท์ของเครือข่ายลงได้มาก เนื่องจากไม่มีปัญหาการ Broadcast หรือแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่าง Router ที่มาจากการใช้โปรโตคอลเลือกเส้นทางการจัดตั้ง Configuration

2. แบบไดนามิก (Dynamic Route)
คือการเลือกเส้นทางแบบ Dynamicในการจัดตั้งค่าสำหรับการเลือกเส้นทาง (Routing) แบบ Dynamic จะมี 2 คำสั่งสำหรับการใช้งาน ได้แก่ คำสั่ง Router และ Network โดยคำสั่ง Router เป็นคำสั่งที่ทำให้เริ่มต้นการเกิดกระบวนการเลือกเส้นทางขึ้น รูปแบบของคำสั่งมีดังนี้Router (config)#router protocol [keyword]ต่อไปนี้เป็นคำอธิบายรายละเอียดของรูปแบบคำสั่งProtocol เป็นโปรโตคอลเลือกเส้นทางแบบใดแบบหนึ่ง ระหว่าง RIP IGRP OSPF หรือ Enhanced IGRPKeyword ตัวอย่าง เช่น เลขหมายของ Autonomous ซึ่งจะถูกนำมาใช้กับโปรโตคอลที่ต้องการระบบ Autonomous ได้แก่ โปรโตคอล IGRPคำสั่ง Network ก็เป็นคำสั่งที่มีความจำเป็นต่อการใช้งานเช่นกัน เนื่องจากมันสามารถกำหนดว่า Interface ใดที่จะเกี่ยวข้องกับการรับหรือส่ง Packet เพื่อการ Update ตารางเลือกเส้นทาง ขณะเกิดกระบวนการเลือกเส้นทางขึ้นคำสั่ง Network จะเป็นคำสั่งที่ทำให้ โปรโตคอลเลือกเส้นทางเริ่มต้นทำงานบน Interface ต่างๆ ของ Router อีกทั้งยังทำให้ Router สามารถโฆษณาประชาสัมพันธ์เครือข่ายที่ตนดูแลอยู่ ได้อีกด้วย รูปแบบของคำสั่งมีดังนี้Router (config-router)#network network- numberNetwork-number ในที่นี้หมายถึง เครือข่ายที่เชื่อมต่อกันโดยตรง และ Network Number จะต้องอยู่ในมาตรฐาน เลขหมาย ของ INTERNIC8

2. จงบอกคำสั่งที่อยู่ในโหมดแต่ละโหมด โหมดละ 5 คำสั่ง
ตอบ 1.คำสั่ง access-enable เป็นการสร้าง Access List entry ชั่วคราว
2.คำสั่ง clear เป็นการ reset ค่า configure ต่างๆที่ท่านสร้างขึ้นชั่วคราว
3.คำสั่ง connect ใช้เพื่อ เปิด connection กับ terminal
4.คำสั่ง disable ปิดหรือยกเลิกคำสั่งที่อยู่ใน Privileged mode
5.คำสั่ง disconnect ยกเลิกการเชื่อมต่อใดๆกับ network
6.คำสั่ง enable เข้าสู่ privileged Exec mode
7.คำสั่ง exit ออกจากการใช้ User Exec mode
8.คำสั่ง help ใช้เพื่อแสดงรายการ help
9.คำสั่ง lat เปิดการเชื่อมต่อกับ LAT (เครือข่าย VAX)
10.คำสั่ง lock ใช้เพื่อ lock terminal

3.Command prompt ในโหมดต่างๆ
ตอบ
User Exec Commands
access-enable เป็นการสร้าง Access List entry ชั่วคราว
clear เป็นการ reset ค่า configure ต่างๆที่ท่านสร้างขึ้นชั่วคราว
connect ใช้เพื่อ เปิด connection กับ terminal
disable ปิดหรือยกเลิกคำสั่งที่อยู่ใน Privileged mode
disconnect ยกเลิกการเชื่อมต่อใดๆกับ network
enable เข้าสู่ privileged Exec mode
exit ออกจากการใช้ User Exec mode
help ใช้เพื่อแสดงรายการ help
lat เปิดการเชื่อมต่อกับ LAT (เครือข่าย VAX)
lock ใช้เพื่อ lock terminal
login loginเข้ามาเป็น user
logout exit ออกจาก EXEC
mrinfo ใช้เพื่อการร้องขอข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับ Version และสถานะของ Router เพื่อนบ้านจาก multicast router ตัวหนึ่ง
mstat แสดงสถิติหลังจากที่ได้ตามรอยเส้นทางแบบ Multicast ของ Router แล้ว
mtrace ใช้ติดตามดู เส้นทาง Multicast แบบย้อนกลับจาก ปลายทางย้อนกลับมาที่ต้นทาง
name-connectionเป็นการให้ชื่อกับ การเชื่อมต่อของเครือข่ายที่กำลังดำเนินอยู่
pad เปิดการเชื่อมต่อ X.25 ด้วย X.29 PAD
Ping ใช้เพื่อทดสอบการเชื่อมต่อ
ppp ใช้เรียกการเชื่อมต่อแบบ PPP
resume ใช้เพื่อการ กลับเข้าสู่การเชื่อมต่อของเครือข่ายอีกครั้ง
rlogin เปิดการเชื่อมต่อ remote Login กับ Server ระยะไกล
show แสดงข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการทำงานของ Router ในปัจจุบัน
lip เริ่มการใช้งาน Slip (serial line protocol)
systat เป็นการแสดงข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับ Terminal Line เช่นสถานะของระบบ
telnet เป็นการเปิด การเชื่อมต่อทาง Telnet
terminal เป็นการจัด Parameter ของ Terminal Line
traceroute เป็นการใช้ Traceroute เพื่อการติดตามไปดู ระบบที่อยู่ปลายทาง
tunnel เปิดการเชื่อมต่อแบบ Tunnel
where แสดงรายการ ของ Link ที่กำลัง Active ในปัจจุบัน

Privileged Mode
Access-enable เป็นการสร้าง Access List แบบชั่วคราว
Access-template สร้าง Access List แบบชั่วคราว
Clear เป็นคำสั่งที่ใช้เคลียร์ หน้าที่การทำงานต่างๆออกทั้งหมด
Clock จัดการระบบนาฬิกาของระบบ
Configure เข้าสู่ Configure Mode
Connect เปิดการเชื่อมต่อ Terminal
Copy เป็นการคัดสำเนาค่า Configuration และข้อมูล
Debug เป็นการใช้คำสั่ง debug
Disable เป็นการยกเลิก Privileged Mode
Disconnect ใช้เพื่อการ Disconnect การเชื่อมต่อของเครือข่ายที่กำลังดำเนินอยู่ในปัจจุบัน
Enable ใช้เพื่อเปิดการเข้าสู่ privileged mode
Erase ใช้เพื่อการลบข้อมูลใน Flash หรือหน่วยความจำที่เก็บ Configuration ใน Router
Exit ใช้เพื่อออกจาก EXEC mode
Help คำสั่ง help
Login ใช้เพื่อการ log on เข้าสู่ระบบ
Logout ใช้เพื่อการออกจาก EXEC
Mrinfo ใช้เพื่อการร้องขอข้อมูลข่าวสารจาก Multicast Router
Mstat แสดงสถิติหลังจากที่ได้ติดตามดูเส้นทางของ Router ต่างๆ
Mtrace ใช้เพื่อติดตามดู เส้นทางแบบย้อนกลับ จากปลายทางมายังต้นทาง
Name-connection ใช้เพื่อการตั้งชื่อ ให้กับเครือข่ายที่กำลังเชื่อมต่ออยู่
Ncia ใช้เพื่อการ Start และหยุดการทำงานของ NCIA Server
No ใช้เพื่อ disable function การทำงานของคำสั่ง debugging
Pad ใช้เพื่อเปิด X.29 PAD Connection
Ping ใช้เพื่อทดสอบการเชื่อมต่อด้วย Echo Message
ppp ใช้เพื่อ Start การทำงานของ PPP
reload ใช้เพื่อหยุดและ restart แบบ Cold Start (Reset ตัวเองแล้วเริ่มทำงานใหม่)
resume Resume การเชื่อมต่อกับเครือข่ายที่กำลัง Active อยู่
rlogin ใช้เพื่อเปิดการเชื่อมต่อ ด้วย rlogin
rsh ใช้เพื่อ execute คำสั่งแบบ Remote (การใช้คำสั่งทำงานบน Host อื่นแบบ Remote)
sdlc ใช้เพื่อการส่ง SDLC Test Frame
send ใช้เพื่อส่ง Message ไปที่ tty Line อื่นๆ
setup ใช้เพื่อ Run คำสั่งการ Setup
show ใช้เพื่อแสดงข้อมูลข่าวสาร ที่กำลังทำงานอยู่บน Router
slip ใช้เพื่อ Start การทำงานของ Serial Line IP (SLIP)
start-chat ใช้เพื่อ start chat สคริปบนสาย
systat ใช้เพื่อแสดงข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับ Terminal Line
telnet ใช้เพื่อเริ่มการทำงานของ Telnet
terminal ใช้เพื่อจัดตั้ง Parameter ของ Terminal Line
test มีไว้เพื่อการทดสอบ ระบบภายใน รวมทั้งหน่วยความจำและ Interface
traceroute เป็นการใช้คำสั่ง Traceroute กับอุปกรณ์หรือ Host ปลายทาง
tunnel เป็นการเปิดการเชื่อมต่อแบบ Tunnel
ndebug ใช้เพื่อยกเลิก การใช้ Debug
verify ใช้เพื่อ Verify ความถูกต้องของ File ที่อยู่ใน Flash Memory
where ใช้แสดงรายการ Connection ที่ยัง Active อยู่ในปัจจุบัน
which-route ใช้เพื่อค้นหาดู route table และแสดงผลออกมาให้ดู
write ใช้เพื่อ Save ค่า Configuration ไปที่ Memory เครือข่าย หรือ Terminal
x3 ใช้เพื่อจัดตั้ง X.3 Parameter บน PAD
xremote เข้าสู่ Xremote mode

Global Configuration Mode
aaa Authentication Authorization และ Accounting
access-list ใช้เพื่อเพิ่มเติมค่าใน Access list
alias ใช้เพื่อสร้าง Command Alias (ใช้เพื่อสร้างคำสั่งใหม่จากคำสั่งเดิมที่มีอยู่)
apollo คำสั่ง Apollo Global configuration Command
appletalk คำสั่ง Global Configuration สำหรับ เครื่อง Appletalk
arap Appletalk Remote Access Protocol
arp เป็นการตั้งค่า arp ในตาราง arp
async-bootp ใช้เพื่อ modify Parameter การทำงานของ Bootp
autonomous-system ใช้เพื่อกำหนดเจาะจงเลขหมาย AS ว่าขึ้นอยู่กับใคร
banner ใช้เพื่อนิยามการทำงานของ login banner
boot ใช้เพื่อ Modify Boot Parameter
buffers ใช้เพื่อการปรับแต่ง Parameter (ขนาด) ของ System Buffer
busy-message ใช้เพื่อแสดงข้อมูลข่าวสารต่างๆเมื่อการเชื่อมต่อกับ Host ล้มเหลว
cdp เป็นคำสั่งย่อย สำหรับการจัดตั้ง Global CDP Configuration
chat-script ใช้เพื่อกำหนดลักษณะการทำงานของ Modem Chat Scripts
clns เป็นคำสั่งย่อยสำหรับจัด Configured ให้กับ Global CLNS
clock ใช้เพื่อจัด Configure เกี่ยวกับ เวลา วัน เดือน ปี
config-register ใช้เพื่อจัดตั้ง Configuration Register
default กำหนดให้ Command line มีค่าเป็น Default
default-value ใช้เพื่อกำหนดให้ ค่า ของ Character Bit
dialer-list ใช้เพื่อการสร้าง dialer list entry
enable ใช้เพื่อ Modify enable password parameter
end ออกจาก Configure Mode
exit เป็นการออกจาก Configure Mode
help แสดง Help Menu
ostname จัดตั้งชื่อ network ให้กับระบบ
interface ใช้เพื่อเลือก Interface ที่ต้องการจะจัด Configure
ip เป็นคำสั่งย่อยสำหรับการจัด Configure Global IP
ipx เป็นคำสั่งสำหรับการจัด Configure ให้กับ Global ipx
kerberos ใช้เพื่อการจัด Configure ให้ระบบรักษาความปลอดภัย แบบ Kerberos
key key Management
keymap ใช้เพื่อการตั้งค่า Keymap ใหม่
line ใช้เพื่อการจัดตั้ง configure สำหรับ Terminal Line
login-string ใช้เพื่อนิยาม login string อย่างเจาะจงเฉพาะ host
map-class ใช้เพื่อการจัด Configure static map class
map-list ใช้เพื่อการจัด configure static map list
menu ใช้เพื่อการจัดตั้ง User Interface Menu
modemcap ฐานข้อมูลสำหรับเก็บค่าที่แสดงความสามารถของ Modem
multilink การจัด Configuration ให้กับ PPP Multilink
netbios การควบคุมการ access โดย NETBIOS
artition ใช้เพื่อแบ่ง partition ของอุปกรณ์
priority-list ใช้เพื่อการสร้าง priority list
prompt ใช้เพื่อการตั้ง Prompt ให้กับระบบ
ueue-list ใช้เพื่อการสร้างรายการ queue แบบ manual
rlogin เป็นคำสั่งที่ใช้ login เข้าไปที่ host ระยะไกล
rmon เรียกการทำงาน ของ remote monitoring ออกมาใช้งาน
router ใช้เพื่อ ทำให้กระบวนการ routing เริ่มทำงาน

4. User exec mode พร้อมรายละเอียด
ตอบ User Exec Mode เป็นโหมดแรกที่ท่านจะต้อง Enter เข้าไป เมื่อRouter เริ่มทำงาน วิธีที่จะรู้ว่าท่านได้เข้าสู่ User Exec Mode จาก Prompt ของ Router ได้แก่ Prompt ที่แสดงบนหน้าจอ ได้แก่ ชื่อของ Router แล้วตามด้วยเครื่องหมาย > เช่น Routerhostname > ต่อไปนี้ เป็นตารางแสดงรายการคำสั่ง ภายใต้ User Exec Commands
คำสั่ง ภายใต้ User Exec Commands
access-enable เป็นการสร้าง Access List entry ชั่วคราว
clear เป็นการ reset ค่า configure ต่างๆที่ท่านสร้างขึ้นชั่วคราว
connect ใช้เพื่อ เปิด connection กับ terminal
disable ปิดหรือยกเลิกคำสั่งที่อยู่ใน Privileged mode
disconnect ยกเลิกการเชื่อมต่อใดๆกับ network
nable เข้าสู่ privileged Exec mode
xit ออกจากการใช้ User Exec mode
help ใช้เพื่อแสดงรายการ help
at เปิดการเชื่อมต่อกับ LAT (เครือข่าย VAX)
lock ใช้เพื่อ lock terminal
login loginเข้ามาเป็น user
logout exit ออกจาก EXEC
mrinfo ใช้เพื่อการร้องขอข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับ Version และสถานะของ Router เพื่อนบ้านจาก multicast router ตัวหนึ่ง
mstat แสดงสถิติหลังจากที่ได้ตามรอยเส้นทางแบบ Multicast ของ Router แล้ว
mtrace ใช้ติดตามดู เส้นทาง Multicast แบบย้อนกลับจาก ปลายทางย้อนกลับมาที่ต้นทาง
name-connection เป็นการให้ชื่อกับ การเชื่อมต่อของเครือข่ายที่กำลังดำเนินอยู่
pad เปิดการเชื่อมต่อ X.25 ด้วย X.29 PAD
Ping ใช้เพื่อทดสอบการเชื่อมต่อ
ppp ใช้เรียกการเชื่อมต่อแบบ PPP
resume ใช้เพื่อการ กลับเข้าสู่การเชื่อมต่อของเครือข่ายอีกครั้ง
rlogin เปิดการเชื่อมต่อ remote Login กับ Server ระยะไกล
show แสดงข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการทำงานของ Router ในปัจจุบัน
slip เริ่มการใช้งาน Slip (serial line protocol)
systat เป็นการแสดงข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับ Terminal Line เช่นสถานะของระบบ
telnet เป็นการเปิด การเชื่อมต่อทาง Telnet
terminal เป็นการจัด Parameter ของ Terminal Line
traceroute เป็นการใช้ Traceroute เพื่อการติดตามไปดู ระบบที่อยู่ปลายทาง
tunnel เปิดการเชื่อมต่อแบบ Tunnel
where แสดงรายการ ของ Link ที่กำลัง Active ในปัจจุบัน

5. คำสั่งที่ใช้ตรวจสอบสถานะของ Router จงบอกอย่างน้อย 5 คำสั่ง
ตอบ ต่อไปนี้ เป็นคำสั่งที่ท่านสามารถนำมาใช้เพื่อการตรวจสอบสถานะการทำงานของ Cisco Router โดยที่คำสั่งเหล่านี้ ยังช่วยให้ท่านสามารถเฝ้าดู และตรวจสอบหาจุดเสียที่เกิดขึ้นกับ Router ดังกล่าวได้อีกด้วยคำสั่งที่ใช้เพื่อแสดงสถานะของ Router มีดังนี้
show Version เป็นคำสั่งที่ใช้แสดงการจัด Configuration ของระบบ Hardware เช่น Version ของ Software ที่ใช้ใน Router ชื่อของ Configuration File อันเป็นต้นฉบับ รวมทั้ง Boot Images
show Processes ใช้เพื่อแสดงข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับ โปรเซสที่กำลังเกิดขึ้น และยังดำเนินการอยู่ทั้งหมดภายใน Router
show Protocols ใช้แสดง Protocol ใน Router ที่ได้รับการจัด Configured เรียบร้อยแล้วโดยคำสั่งนี้ จะทำการแสดง Protocol ที่ทำงานในระดับชั้น Layer 3(Network Layer) ของ OSI Model
show Memory ใช้เพื่อการแสดงข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับหน่วยความจำในตัว Router รวมทั้งปริมาณของหน่วยความจำที่เหลือจากการใช้งาน
show ip route ใช้เพื่อการแสดงข้อมูลข่าวสารที่อยู่ใน ตารางเลือกเส้นทาง (Routing Table)
show flash แสดงข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับ อุปกรณ์ประเภท Flash Memory
show running-config ใช้เพื่อการแสดงค่าพารามิเตอร์ของ Configuration ต่างๆที่กำลังทำงานกันอยู่ในขณะนี้
show startup-config ใช้เพื่อการแสดง File ที่ใช้ backup ค่า Configuration ต่างๆ
show interfaces ใช้เพื่อการแสดงสถิติของ Interface ทั้งหมดที่ได้จัดตั้ง Configured เรียบร้อยแล้วบน Router

6. การเลือกเส้นทางแบบ Static คืออะไร
ตอบ คือการเลือกเส้นทางแบบ Dynamicในการจัดตั้งค่าสำหรับการเลือกเส้นทาง (Routing) แบบ Dynamic จะมี 2 คำสั่งสำหรับการใช้งาน ได้แก่ คำสั่ง Router และ Network โดยคำสั่ง Router เป็นคำสั่งที่ทำให้เริ่มต้นการเกิดกระบวนการเลือกเส้นทางขึ้น รูปแบบของคำสั่งมีดังนี้Router (config)#router protocol [keyword]ต่อไปนี้เป็นคำอธิบายรายละเอียดของรูปแบบคำสั่งProtocol เป็นโปรโตคอลเลือกเส้นทางแบบใดแบบหนึ่ง ระหว่าง RIP IGRP OSPF หรือ Enhanced IGRPKeyword ตัวอย่าง เช่น เลขหมายของ Autonomous ซึ่งจะถูกนำมาใช้กับโปรโตคอลที่ต้องการระบบ Autonomous ได้แก่ โปรโตคอล IGRPคำสั่ง Network ก็เป็นคำสั่งที่มีความจำเป็นต่อการใช้งานเช่นกัน เนื่องจากมันสามารถกำหนดว่า Interface ใดที่จะเกี่ยวข้องกับการรับหรือส่ง Packet เพื่อการ Update ตารางเลือกเส้นทาง ขณะเกิดกระบวนการเลือกเส้นทางขึ้นคำสั่ง Network จะเป็นคำสั่งที่ทำให้ โปรโตคอลเลือกเส้นทางเริ่มต้นทำงานบน Interface ต่างๆ ของ Router อีกทั้งยังทำให้ Router สามารถโฆษณาประชาสัมพันธ์เครือข่ายที่ตนดูแลอยู่ ได้อีกด้วย รูปแบบของคำสั่งมีดังนี้Router (config-router)#network network- numberNetwork-number ในที่นี้หมายถึง เครือข่ายที่เชื่อมต่อกันโดยตรง และ Network Number จะต้องอยู่ในมาตรฐาน เลขหมาย ของ INTERNIC8
7. การเลือกเส้นทางแบบ Dynamic คืออะไร
ตอบ คือการเลือกเส้นทางแบบ Static นี้ การกำหนดเส้นทางการคำนวณเส้นทางทั้งหมด กระทำโดยผู้บริหาจัดการเครือข่าย ค่าที่ถูกป้อนเข้าไปในตารางเลือกเส้นทางนี้มีค่าที่ตายตัว ดังนั้นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นใดๆ บนเครือข่าย จะต้องให้ผู้บริหารจัดการดูแล เครือข่าย เข้ามาจัดการทั้งสิ้น อย่างไรก็ดีการใช้ วิธีการทาง Static เช่นนี้ มีประโยชน์เเหมาะสำหรับเครือข่ายที่มีขนาดเล็กเพื่อผลแห่งการรักษาความปลอดภัยข้อมูล เนื่องจากสามารถแน่ใจว่า ข้อมูลข่าวสารจะต้องวิ่งไปบนเส้นทางที่กำหนดไว้ ช่วยประหยัดการใช้ แบนวิดท์ของเครือข่ายลงได้มาก เนื่องจากไม่มีปัญหาการ Broadcast หรือแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่าง Router ที่มาจากการใช้โปรโตคอลเลือกเส้นทางการจัดตั้ง Configuration
8. Protocol ที่เลือกเส้นทางแบบ dynamic มีอะไรบ้าง
ตอบ โปรโตคอลเลือกเส้นทางแบบ Dynamic มีอยู่ หลายรูปแบบ ดังนี้1. Interior Gateway Routing Protocol2.Exterior Gateway Routing Protocol3. Distance Vector Routing Protocol4. Link State Routing ProtocolInterior เป็น Protocol ที่ใช้แลกเปลี่ยนฐานความรู้ระหว่าง Roter ภายในองค์กรเดียวกัน ซึ่งได้แก่ RIP , IGRP ,EIGRP และ OSPF Exterior เป็น Protocol ที่ใช้แลกเปลี่ยนฐานความรู้ต่างองค์กรกันหรือความน่าเชื่อถือต่างกัน ซึ่งได้แก่ BGP, EGP Distance Vector เป็นโปรโตคอลเลือกเส้นทางที่ Router ใช้เพื่อการสร้างตาราง Routing และจัดการนำแพ็กเก็ตส่งออกไปยังเส้นทางที่กำหนด โดย อาศัยข้อมูลเกี่ยวกับระยะทาง เช่น Hop เป็นตัวกำหนดว่า เส้นทางใดเป็นเส้นทางที่ดีที่สุด ที่จะนำแพ็กเก็ตส่งออกไปที่ปลายทาง โดยถือว่า ระยะทางที่ใกล้ที่สุด เป็นเส้นทางที่ดีที่สุด และแอดเดรส ของเครือข่ายปลายทางเป็น VectorLink State Routing ถูกเรียกว่า "Shortest Path First (SPF)" Algorithm ด้วย Link State Routing นี้ Router แต่ละตัวจะทำการ Broadcast ข้อมูลข่าวสารออกมายัง Router ที่เชื่อมต่อกับมันโดยตรงแบบเป็นระยะๆ ข้อมูลข่าวสารนี้ยังครอบคลุมไปถึงสถานะของการเชื่อมต่อระหว่างกันRouting Protocols (เส้นทางการเชื่อมต่อ)Exterior routing Protocol (EGP) เป็นโปรโตคอล สำหรับการแลกเปลี่ยนข้อมูลของ router ระหว่าง 2 เครือข่ายของ gateway host ในระบบเครือข่ายแบบอัตโนมัติ ซึ่ง EGP มีการใช้โดยทั่วไป ระหว่าง host บนอินเตอร์เน็ต เพื่อแลกเปลี่ยนสารสนเทศของตาราง routing โดยตาราง routing ประกอบด้วยรายการ router ตำแหน่งที่ตั้ง และเมทริกของค่าใช้จ่ายของแต่ละ router เพื่อทำให้สามารถเลือกเส้นทางที่ดีที่สุด กลุ่มของ router แต่ละกลุ่มจะใช้เวลาภายใน 120 วินาที ถึง 480 วินาที ในการส่งข้อมูลส่งตาราง routing ทั้งหมดไปยังเครือข่ายอื่น ซึ่ง EGP -2 เป็นเวอร์ชันล่าสุดของ EGP Border Gateway Protocol (BGP) เป็นโปรโตคอลสำหรับการแลกเปลี่ยนข้อมูลของเส้นทางระหว่าง gateway host (ซึ่งแต่ละที่จะมี router ของตัวเอง) ในเครือข่ายแบบอัตโนมัติ BGP มักจะได้รับการใช้ระหว่าง gateway host บนระบบอินเตอร์เน็ต ตาราง routing ประกอบด้วยรายการของ router ตำแหน่งและตารางค่าใช้จ่าย (cost metric) ของเส้นทางไปยังrouterแต่ละตัวเพื่อการเลือกเส้นทางที่ดีที่สุด host ที่ใช้การติดต่อด้วยประเภทของ Routing ภายใน Network ที่เชื่อมต่อกับเนตเวิคโดยตรงRouting Information Protocol (RIP) เป็นโปรโตคอลที่ใช้อย่างกว้างขวาง สำหรับการจัดการสารสนเทศของ router ภายในเครือข่าย เช่น เครือข่าย LAN ของบริษัท หรือการติดต่อภายในกลุ่ม ของเครือข่าย RIP ได้รับการจัดชั้นโดย Internet Engineering Task Force (IETF) ให้เป็นหนึ่งในโปรโตคอลของInternet Gateway Protocol (หรือ InteriorGatewayProtocol)Open Shortest Path First (OSPF) ถือเป็น เร้าติ้งโปรโตคอล (Routing Protocol) ตัวหนึ่งที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลายมากที่สุดในระบบเน็ตเวิร์ก เนื่องจากมีจุดเด่นในหลายด้าน เช่น การที่ตัวมันเป็น Routing Protocol แบบ Link State, การที่มีอัลกอรึทึมในการค้นหาเส้นทางด้วยตัวเอง ซึ่งเปรียบเสมือนว่า ตัวของ เราเตอร์ที่รัน OSPF ทุกตัวเป็นรูท (Root) หรือ จุดเริ่มต้นของระบบไปยังกิ่งย่อยๆ หรือโหนด (Node) ต่างๆ ซึ่งเป็นเทคนิคในการลดเส้นทางที่วนลูป (Routing Loop) ของการ Routing ได้เป็นอย่างดีEnhance Interior Gateway Routing Protocol (EIGRP) นั้นถือได้ว่าเป็น เราติ้งโปรโตคอลที่มีความรวดเร็วสูงสุดของซิสโก้ในการค้นหาเส้นทางภายใน Intra-AS (Interior Routing Protocol: เราติ้งโปรโตคอลภายใน Autonomous System) ซึ่ง ในเราติ้งโปรโตคอลแบบ EIGRP นี้ จะเป็นการนำเอาข้อดีของการเราติ้งแบบ Distance Vector และ Link State มาผสมผสานกัน (ในหนังสือบางเล่มจะเรียก เราติ้งโปรโตคอลแบบนี้ว่า “Hybrid” (ลูกผสม) หรือ Advanced Distance Vector)
9. อธิบาย Protocol Diatyance Vecter ให้เข้าใจ
ตอบ ลักษณะที่สำคัญของการติดต่อแบบ Distance-vector คือ ในแต่ละ Router จะมีข้อมูล routing table เอาไว้พิจารณาเส้นทางการส่งข้อมูล โดยพิจารณาจากระยะทางที่ข้อมูลจะไปถึงปลายทางเป็นหลัก จากรูป Router A จะทราบว่าถ้าต้องการส่งข้อมูลข้ามเครือข่ายไปยังเครื่องที่อยู่ใน Network B แล้วนั้น ข้อมูลจะข้าม Router ไป 1 ครั้ง หรือเรียกว่า 1 hop ในขณะที่ส่งข้อมูลไปยังเครื่องใน Network C ข้อมูลจะต้องข้ามเครือข่ายผ่าน Router A ไปยัง Router B เสียก่อน ทำให้การเดินทางของข้อมูลผ่านเป็น 2 hop อย่างไรก็ตามที่ Router B จะมองเห็น Network B และ Network C อยู่ห่างออกไปโดยการส่งข้อมูล 1 hop และ Network A เป็น2 hop ดังนั้น Router A และ Router B จะมองเห็นภาพของเครือข่ายที่เชื่อมต่ออยู่แตกต่างกันเป็นตารางข้อมูล routing table ของตนเอง จากรูปการส่งข้อมูลตามลักษณะของ Distance-vector routing protocol จะเลือกหาเส้นทางที่ดีที่สุดและมีการคำนวณตาม routing algorithm เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ออกมา ซึ่งมักจะเลือกเส้นทางที่ดีที่สุดและมีจำนวน hop น้อยกว่า โดยอุปกรณ์ Router ที่เชื่อมต่อกันมักจะมีการปรับปรุงข้อมูลใน routing table อยู่เป็นระยะๆ ด้วยการ Broadcast ข้อมูลทั้งหมดใน routing table ไปในเครือข่ายตามระยะเวลาที่ตั้งเอาไว้การใช้งานแบบ Distance-vector เหมาะกับเครือข่ายที่มีขนาดไม่ใหญ่มากและมีการเชื่อมต่อที่ไม่ซับซ้อนเกินไป ตัวอย่างโปรโตคอลที่ทำงานเป็นแบบ Distance-vector ได้แก่ โปรโตคอล RIP (Routing Information Protocol) และโปรโตคอล IGRP (Interior Gateway Routing Protocol) เป็นต้น
10. Protocol BGP คืออะไรมีหลักการทำงานอย่างไร
ตอบ Protocol เลือกทางเดิน Gateway ภายนอกเครือข่ายแบบ BGP
Protocol OSPF เป็น Protocol ที่กำลังได้รับการสนับสนุนให้เป็นมาตรฐานในการเลือกทางเดินข้อมูลภายในเครือข่ายอัตโนมัติบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ส่วน Protocol BGP (Border Gateway Protocal) ได้รับการพัฒนาขึ้นมาให้สำหรับการเลือกทางเดินระหว่างเครือข่ายอัตโนมัติ ทั้งนี้เนื่องจากการเลือกทางเดินภายในจะคำนึงถึงค่าใช้จ่ายเป็นหลัก แต่การเลือกทางเดินระหว่างเครือข่าย จะต้องนำนโยบายของแต่ละระบบมาร่วมพิจารณาด้วย
ตัวอย่างเช่นระบบเครือข่ายอัตโนมัติขององค์กรทั่วไป มีความต้องการที่จะรับและส่งข้อมูลไปยัง Host ใด ๆ ในระบบอินเทอร์เน็ต ในขณะเดียวกันก็ไม่ต้องการให้ตนเองทำหน้าที่เป็นตัวกลางในการรับและส่งข้อมูลให้กับเครือข่ายอื่น ๆ อย่างไรก็ตามองค์กรเหล่านี้ยินดีอย่างยิ่งในการให้บริการแก่ทุกเครือข่ายที่จ่ายค่าบริการ ดังเช่นองค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทยที่มีความรู้พร้อมทุกด้านที่จะให้บริการแก่ลูกค้าที่ชำระค่าบริการอย่างสม่ำเสมอ Protocol BGP ได้รับการออกแบบมาให้จัดการกับปัญหาเหล่านี้
นโยบายที่ใช้กันทั่วไปในระบบเครือข่ายอัตโนมัติจะเกี่ยวข้องกับ การเมือง, การปกครอง, การรักษาความปลอดภัย, และการพาณิชย์ ตัวอย่างเช่น
1. ไม่อนุญาตให้ฝากส่งข้อมูลผ่านบางพื้นที่2. ไม่ส่งข้อมูลของ IBM ผ่านระบบของ Microsolf3. ไม่ส่งข้อมูลออกนอกเขตประเทศไทยยกเว้นเป็นการสื่อสารระหว่างประเทศ4. ไม่ส่งข้อมูลผ่านระบบเครือข่ายทหาร ยกเว้นในกรณีที่ไม่มีทางเลือกอื่น5. ไม่เลือกระบบนนทรีเน็ทไว้ในเส้นทางที่เริ่มต้นจาก NECTEC
นโยบายของแต่ละแห่งจะถูกบันทึกไว้ใน Router BGP แต่ละตัวในลักษณะของข้อมูล แต่ไม่ใช่ส่วนประกอบของ Protocol
Router BGP จะมองเห็นระบบเครือข่ายประกอบด้วย Router BGP ตัวอื่น ๆ ซึ่งมีสายสื่อสารเชื่อมต่อถึงกัน Router BGP สองตัวจะถือว่าต่อถึงกันถ้า Router คู่เป็นส่วนร่วมของเครือข่ายเดียวกัน ถ้าต้องการพิจารณาในเรื่องการฝากส่งข้อมูล ระบบเครือข่ายจะถูกแบ่งออกเป็นสามประเภท ประเภทที่หนึ่งเรียกว่า เครือข่ายต้นตอ (Stub Networks) ซึ่งจะมีสายสื่อสารเชื่อมต่อกับ Router BGP เพียงสายเดียว ดังนั้นจึงไม่สามารถรับหน้าที่ในการฝากข้อมูลได้ ประเภทที่สองเรียกว่า เครือข่ายเชื่อมต่อหลายจุด (Multiconnected Networks) เครือข่ายประเภทนี้สามารถให้บริการฝากส่งข้อมูลโดยเฉพาะ ได้แก่เครือข่ายระบบสื่อสารหลัก

11. สายใยแก้วนำแสงมีกี่ชนิด
ตอบ 2 ชนิดคือ
1 เส้นใยแก้วนำแสงโหมดเดียว
เส้นใยแก้วนำแสงโหมดเดียวมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของแกนและแคลดประมาณ 5-10 และ 125 ไมคอน ตามลำดับ ซึ่งส่วนของแกนมีขนาดเล็กกว่าเส้นใยแก้วนำแสงชนิดหลายโหมดมาก แลให้ แสงออกมาเพียงโหมดเดียว
2.เส้นใยแก้วนำแสงหลายโหมด
โครงสร้างภายในเส้นใยแก้วนำแสง ซึ่งประกอบด้วยแกนและแคลดดังได้กล่าวมาแล้วข้างต้นสำหรับเส้นใยแก้วหลายโหมดส่วนใหญ่ มีเส้นผ่าศูนย์กลางของแกนแคลดประมาณ 50 ไมคอน และ 125 ตามลับ เนื่องจากขนาดของเส้นผ่าศูนย์กลางของแกนของเส้นใยแก้วนำแสง หลายโหมดนั้นมีขนาดใหญ่ดังนั้น แสงที่ตกกระทบที่ปลายอินพุตของเส้นใยแก้วนำแสงมีมุมตกกระทบที่แตกต่างกัน หลายค่า จากหลักการสะท้อนกลับหมดของแสงที่เกิดขึ้นภายในส่วนของ แกนทำให้มีแนวลำแสงเกิดขึ้นหลายโหมด และแสงแต่ละโหมดใช้เวลาเดินทางโดยใช้ระยะเวลาเดินทางที่แตกต่างกัน อันเป็นเหตุให้เกิดการแตกกระจายของโหมดแสง ( Mode Dispersion ) หรือของสัญญาณที่ได้รับได้เนื่องจากความแตกต่างของเวลา จึงได้มีการพัฒนาจะลดการแตกกระจายของสัญญาณซึ่ง เกิดขึ้นจากเส้นใยแก้วนำแสงหลายโหมดด้วนการ ปรับปรุงลักษณะดัชนีการหลักเหของแสงของแกน

12. สัญญาณของสายใยแก้วนำแสงชนิดต่างๆ
ตอบ Fiber Optic Distribution Unit
เป็นแบบติดผนัง (wall mount enclosure) มีกุญแจสำหรับเปิดปิดตู้
อุปกรณ์กระจายสายจะต้องมี accessories สำหรับขดสาย หรือเก็บสาย (Cable Management System)
อุปกรณ์กระจายสายจะต้องสามารถติด label เพื่อสะดวกในการจัดการสาย
อุปกรณ์กระจายสายจะต้องสามารถเพิ่มเติม, เปลี่ยนแปลงจำนวนหรือประเภทของ connector ได้ง่าย โดยการเพิ่มหรือลด หรือเปลี่ยน Adapter Plate
มีแผ่นปิดช่องที่ไม่ได้ใช้งาน
สามารถติดตั้ง อแดปเตอร์แบบ ST 6-36 Ports
Fiber Optic Patch Cordชนิด Multimode

สายใยแก้วนำแสง 1 เส้นจะต้องมี 2 แกน ขนาด 50/125 ไมครอน
ปลายสายเป็นหัวต่อแบบ ST-LC style หรือ ST-SC style หรือ ST-ST Style ตามความเหมาะสมกับอุปกรณ์ที่ใช้
มีรหัสบอกถึงการไขว้สาย TX/RX
มีความยาวของสายไม่น้อยกว่า 2 เมตร
Fiber Optic Patch Cordชนิด Single mode
สายใยแก้วนำแสง 1 เส้นจะต้องมี 1 แกน ขนาด 9/125 ไมครอน
ปลายสายเป็นหัวต่อแบบ ST-LC style หรือ ST-SC style หรือ ST-ST Style ตามความเหมาะสมกับอุปกรณ์ที่ใช้
มีรหัสบอกถึงการไขว้สาย TX/RX
มีความยาวของสายไม่น้อยกว่า 2 เมตร
สาย Pigtail สำหรับต่อสายที่เดินระหว่างอาคาร
สาย Pigtail สำหรับต่อสายที่เดินระหว่างอาคาร และ อุปกรณ์กระจายสายใยแก้วนำแสง
เป็นสาย pigtailชนิด ST-Style Connector Multimode หรือ Single mode ตามขนาดและชนิด ความยาว 1.5 m

13. จงบอกข้อดีของเส้นใยแก้วนำแสง
ตอบ 1. มีน้ำหนักเบาและไม่เป็นสนิม ซึ่งเหมาะมากสำหรับใช้งานในยานอวกาศ และรถยนต์2. เส้นใยแสง 1 เส้น สามารถที่จะมีช่องสัญญาณเสียงได้มากเท่ากับ 1500 คู่สาย3. ความห่างของตัวขยายสัญญาณสำหรับเส้นใยแสงมีค่าตั้งแต่ 35 ถึง 80 กิโลเมตร ซึ่งตรงข้ามกับสายธรรมดา ซึ่งมีค่าตั้งแต่ 1 ถึงแค่ 1.5 กิโลเมตรเท่านั้น4. เส้นใยแสงจะไม่มีการรบกวนจากฟ้าแลบ และการแผ่รังสีของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
14. ขนาดของ Core และ Cladding ในเส้นใยแก้วนำแสงแต่ละชนิด
ตอบ แท่งควอร์ต ซึ่งผ่านกระบวนการ Modefied Chemical Vapor Deposition (MCVD) แล้วจะถูกวางในแนวตั้งในหอดึง (Drawing Tower) ซึ่งจะถูกให้ความร้อนต่ออีก (2200 F) และถูกดึงลงด้านล่าง โดยหลักการของการหลอมเหลวควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์ และขบวนการการดึง เพื่อจะทำให้เส้นใยแสงคุณภาพสูง มีความยาวประมาณ 6.25 กิโลเมตร และเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 125 ไมโครเมตร ศูนย์กลางซึ่งถูกเรียกว่า แกน หรือ CORE (เส้นผ่าศูนย์กลาง 8 ไมโครเมตร) จะถูกล้อมรอบด้วยควอร์ตที่บริสุทธิ์น้อยกว่า ซึ่งถูกเรียกว่า ชั้นคลุม หรือ cladding (ขอบเขตประมาณ 117 ไมโครเมตร
15. การเชื่อมต่อโดยวิธีการหลอมรวม (Fusion Splicing) ทำได้โดยวิธีใด
ตอบ การเชื่อมต่อแบบหลอมรวม เป็นการเชื่อมต่อ Fiber Optic สองเส้นเข้าด้วยกัน โดยการให้ความร้อนที่ปลายของเส้น Fiber Optic จากนั้นปลายเส้น Fiber Optic จะถูกดันออกมาเชื่อมต่อกัน การเชื่อมต่อกันในลักษณะนี้ เป็นการเชื่อมต่อโดยถาวร จนทำให้ดูเหมือนรวมเป็นเส้นเดียวกัน การสูญเสียจากการเชื่อมต่อในลักษณะนี้ จะทำให้มีความสูญเสีย ประมาณ 0.01 - 0.2 dB ในขั้นตอนการเชื่อมต่อนี้ ความร้อนที่ทำให้ปลายเส้น Fiber Optic อ่อนตัวลงด้วยประกายไฟที่เกิดจากการ Arc ระหว่างขั้ว Electrode ขณะทำการ หลอมรวม ซึ่งจะยังผลให้การเชื่อมต่อของ Fiber Optic เป็นเนื้อเดียวกัน


การเข้าหัว RJ 45

1 แบบ T568B Crossover

RJ-45 CABLE (CAT 5)

Pin Symbol Color

1 TD+ ขาวส้ม
2 TD- ส้ม
3 RX+ ขาวเขียว
4 Not Assigned น้ำเงิน
5 Not Assigned ขาวน้ำเงิน
6 RX- เขียว
7 Not Assigned ขาวน้ำตาล
8 Not Assigned น้ำตาล
2 แบบ T568A (Cross)

RJ-45 CABLE (CAT 5)
Pin Symbol Color
1 TD+ ขาวเขียว
2 TD- เขียว
3 RX+ ขาวส้ม
4 Not Assigned น้ำเงิน
5 Not Assigned ขาวน้ำเงิน
6 RX- ส้ม
7 Not Assigned ขาวน้ำตาล
8 Not Assigned น้ำตาล

ข่าว IT วันนี้

ไอซีทีกล่อม ทีโอที-กสท ประสานรอย ร้าวเดินหน้าไทยโมบายนายมั่น พัธโนทัย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หรือ ไอซีที กล่าวถึงข้อสรุปเรื่องการซื้อขายหุ้นกิจการร่วมค้าไทยโมบาย ผู้ให้บริการโทรศัพท์มือถือระบบ 1900 เมกะเฮิร์ตซ ที่บริษัททีโอที จำกัด (มหาชน) หรือทีโอที และบริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) หรือ กสท ถือหุ้นร่วมกันว่า เดิมมีข้อเสนอให้ ทีโอทีและ กสท อยู่ 3 ทางคือ 1.ทีโอทีขายหุ้น 58% ที่ถืออยู่ให้ กสท 2 .กสท ขายหุ้นให้ทีโอที และ 3.ทีโอที และกสท ดำเนินธุรกิจร่วมกัน โดยให้ระยะเวลา 1 เดือนรมต.ไอซีที กล่าวต่อว่า ก่อนหน้านี้ ทั้ง กสท และทีโอที ต่างต้องการที่จะซื้อหุ้นของอีกฝ่าย โดยทาง กสท ต้องการซื้อหุ้นของทีโอที ในราคา 3,300 ล้านบาท และจะจ่ายภายใน 7 วัน ขณะที่ทางทีโอทีจะซื้อหุ้นจาก กสท ในราคา 2,400 ล้านบาท กำหนดการจ่ายเงินภายใน 12 ปี และตอนหลังลดลงเหลือจ่ายภายใน 5 ปี แต่ยังติดเรื่องการโอนหุ้นว่าจะทำได้หรือไม่ และจากมติที่ประชุมของ กทช ปรากฏว่าหุ้นดังกล่าวสามารถโอนให้กันได้ จึงได้ข้อสรุปว่า กสท จะขายหุ้นจำนวน 42% ให้กับทีโอที ในราคา 2,400 ล้านบาท จ่ายภายใน 5 ปี โดยไม่เสียดอกเบี้ย เพื่อที่ทาง กสท จะได้นำเงินดังกล่าวไปพัฒนาระบบโครงข่ายของ กสท“ทั้ง 2 หน่วยงานจะทำบันทึกข้อตกลงร่วมกันต่อหน้า รมว.ไอซีทีภายใน 7 วัน เพื่อให้เป็นพยาน และที่ กสท ยอมเพราะรัฐมนตรีขอร้อง ซึ่งวิธีนี้น่าจะเป็นวิธีที่ทุกฝ่ายพอใจเพราะต่างเป็นหน่วยงานของรัฐเหมือนกัน ส่วนปัญหาคดีระหว่างทีโอทีและ กสท เรื่องค่าเชื่อมโยงโครงข่าย และค่าเช่าใช้โครงข่าย อินเตอร์คอนเนคชั่นชาร์จ และแอคเซสชาร์จก็อยากให้เรื่องจบด้วย ส่วนตัวอยากให้พัฒนาร่วมกันไป ภายใน 1 เดือนให้เสร็จเรื่องคดีความทั้งหลาย และบอร์ดทั้ง 2 ฝ่ายก็รับปากที่จะดำเนินการให้” นายมั่นกล่าวด้าน นายธีรวุฒิ บุณยโสภณ ประธานกรรมการ บริษัททีโอที จำกัด (มหาชน) กล่าวว่า ภายใน 200 วันการโอนสิทธิคลื่นความถี่ดังกล่าวจะเรียบร้อย เนื่องจากขั้นตอนบางอย่างสามารถทำพร้อมกันได้ ขอยืนยันว่าจากนี้ไป ทีโอที และ กสท จะไม่แข่งขันกันในการประมูลงานแต่จะเป็นการส่งเสริมกันมากขึ้น คาดว่าหลังจากการโอนสิทธิ์คลื่นความถี่แล้ว ภายใน 6 เดือน แผนมือถือระบบ 3G น่าจะเสร็จ และพื้นที่บางส่วนของกรุงเทพมหานครสามารถใช้บริการได้ ส่วนปริมณฑลและหัวเมืองใหญ่ๆ หลายจังหวัด คาดว่าจะใช้งานได้ภายใน 1 ปี แต่ต้องได้ใช้ 3G ก่อนประเทศลาว และประเทศกัมพูชาอย่างแน่นอน สำหรับงบประมาณในการทำ 3G จะต้องมีการปรึกษาระหว่าง นพ.สุรพงษ์ สืบวงศ์ลี รัฐมนตรีกระทรวงการคลัง และรัฐมนตรีกระทรวงไอซีทีว่า จะดำเนินการอย่างไร แต่อย่างไรก็ตาม จะต้องให้ได้ราคาที่ถูกที่สุด

ข้อสอบปรนัย เรื่องคำสั่งตรวจซ่อม

1.คำสั่งที่ใช้ตรวจสอบค่าconfigureของเครื่องคอมพิวเตอร์ คือข้อใด
ก.Ipconfig/all
ข.Netmast
ค.Netstat
ง.Address
2.ข้อใดไม่ใช่คำสั่งตรวจซ่อม
ก.Ipconfig/all
ข.Delete
ค.Netstat
ง.Tracert
3.ข้อใดคือคำสั่งในการตรวจสอบโปรโตคอล
ก.Ipconfig/all
ข.Delete
ค.Netstat
ง.Tracert
4.ข้อใดคือคำสั่งในการตรวจสอบโปรโตคอล IP
ก.Tracert
ข.Netstat-s-p ip
ค.Netstat-s-p udp
ง.Netstat-r
5.ข้อใดคือคำสั่งในการตรวจสอบโปรโตคอล UDP
ก.Tracert
ข.Netstat-s-p ip
ค.Netstat-s-p udp
ง.Netstat-r
6.ข็อใดคือคำสั่งในการดูข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับ Rotig Table
ก.Netstat-s-p icmp
ข.Netstat-s-p ip
ค.Netstat-s-p udp
ง.Netstat-r
7.คำสั่งที่ใช้ดูเส้นทางในการเชื่อมต่อของ routerไปยังปลายทางคือข้อใด
ก.Tracert
ข.Netstat-s-p ip
ค.Netstat-s-p udp
ง.Netstat-r
8.การทำงานของ tracert การร้องขอแต่ละครั้งจะมีการเพิ่มค่า TTL เป็นเท่าใด
ก. 1
ข. 2
ค. 3
ง. 4
9.ใช้คำสั่งใดเพี่อตรวจสอบดูชื่อคอมพิวเตอร์หรือ IP Address ที่ติดต่อเข้ามา
ก.Netstat-s-p icmp
ข.Netstat-s-p ip
ค.Netstat-a-n
ง.Netstat-r
10.Header ของ IP ปกติจะมีค่าเป็นเท่าใด
ก. 1
ข. 2
ค. 3
ง. 0
ข้อสอบปรนัย เรื่องอีเทอร์เน็ต1.อีเทอร์เน็ตมีการพัฒนาขึ้นโดยบริษัทใด

ก. SUMSUNG
ข. LG
ค. XEROX
ง. HITACHI
2. เครื่องคอมพิวเตอร์บนเครือข่าย โดยจะใช้กระบวนการส่งข้อมูลแบบใด

ก. CSMA/CD
ข. MAC sub layer
ค. LLC
ง. IEEE
3. IEEE 802.4 เป็น Bus topology ที่ใช้ อะไร ในการควบคุมการเชื่อมต่อ

ก. frame type
ข. token
ค. Bus topology
ง. Token Package
4.อีเทอร์เน็ตใช้วิธีการส่งสัญญาณแบบใด

ก .Fast-Ethernet
ข. Gigabit-Ethernet
ค. เบสแบนด์
ง. Media
5. ข้อใดคือข้อดีของสายโคแอกเชียลแบบบาง

ก. ใช้เป็นเครือข่ายกระดูกสันหลังภายในตึก
ข.ราคาถูกที่สุด
ค. ดูแลรักษาง่าย
ง. ทนทานต่อการถูกรบกวนได้เป็นอย่างดี
6. ข้อใดคือข้อดีของสายใยแก้วนำแสง

ก.ดูแลรักษาง่าย
ข.ใช้เป็นเครือข่ายกระดูกสันหลังภายในตึก
ค.ทนทานต่อการถูกรบกวนได้เป็นอย่างดี
ง.ราคาถูกที่สุด
7. 10Base-T เป็นระบบเครือข่าย Ethernet ที่ใช้สายใดเป็นสื่อในการส่งสัญญาณ
ก.Parent Hub
ข.Fiber Hub
ค.Network Interface Card
ง.Twisted Pair
8. ฟาสต์อีเทอร์เน็ตได้ถูกออกแบบมาเพื่อการติดตั้งเครือข่ายในรูปแบบของเครือข่ายแบบใด

ก. แบบดาว
ข.แบบดวงจันทร์
ค.แบบโซ่
ง.แบบบัส
9. มาตรฐาน 100BASE-Tx เป็น มาตรฐาน IEEE 802.3u ที่กำหนดขึ้นในปีใด

ก.ปี 1993
ข.ปี 1994
ค.ปี 1995
ง.ปี 1996
10. 10 กิกะบิตอีเทอร์เน็ต (10 GbE) จะเป็นไปตามมาตรฐานเครือข่าย 802.3ae ซึ่งได้พัฒนาและประกาศใช้อย่างสมบูรณ์เมื่อใด

ก.เดือนมิถุนายน ค.ศ 2000
ข.เดือนมิถุนายน ค.ศ 2001
ค.เดือนมิถุนายน ค.ศ 2002
ง.เดือนมิถุนายน ค.ศ 2003
สรุป Basic Data Communication
การสื่อสารข้อมูล เป็นการแลกเปลี่ยนข่าวสารหรือข้อมูลระหว่างอุปกรณ์ที่ใช้ในการสื่อสาร โดยต้องมีสื่อในการโอนข้อมูลกัน เช่น สายทองแดงหรือดาวเทียม เป็นต้น การที่เราจะสามารถสื่อสารข้อมูลกันได้นั้นจะต้องอาศัยทั้งฮาร์ดแวร์และซอร์ฟแวร์ โดยที่คุณสมบัติพื้นฐานของการสื่อสารข้อมูล ประกอบไปด้วย
1. ความถูกต้องของการส่ง (Delivery) หมายถึง ข้อมูลจะต้องสามารถไปถึงปลายทางได้อย่างถูกต้อง
2. ความถูกต้องของข้อมูล (Accuracy) หมายถึง ข้อมูลที่ไปถึงปลายทางนั้นจะต้องเหมือนกับที่ต้นทางที่ส่งไป
3. เวลาที่เหมาะสม (Timeliness) หมายถึง เวลาที่ใช้ในการเดินทางของข้อมูลนั้นต้องมีระยะเวลาที่เหมาะสมไม่นานจนเกินไป
*************************************************************************
สรุป Basic IP Address
1. อินเทอร์เน็ต (Internet) เป็นเครือข่ายชนิดหนึ่ง ที่ภายในจะประกอบไปด้วยเครือข่ายย่อยๆ มากมาย
2. โปรโตคอลที่เป็นมาตรฐานของอินเทอร์เน็ตคือ TCP/IP
3. ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต (Internet service provider : ISP) สามารถแบ่งออกได้เป็น ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต ระหว่างประเทศ ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตภายในประเทศ ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตภายในภูมิภาค และผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตภายในท้องถิ่น
4. โพรโตคอล เป็นข้อกำหนดหรือกฎของการสื่อสารข้อมูลซึ่งจะประกอบไปด้วย syntax, semantic และtiming
5. มาตรฐานเป็นสิ่งหนึ่งที่ทำให้เกิดความเป็นสากล ทำให้ผู้ผลิตอุปกรณ์ต่างๆ สามารถที่จะนำมาใช้งานร่วมกันได้

แปลง IP209.123.226.168
11001010.01111011.11100010.10101000198.60.70.81
11000110.00111100.01000110.01010001

-บอกหมายเลข Subnet Mask-บอกจำนวน Host CIDR
ที่ให้คือCIDR /22
11111111.11111111.11111100.00000000
255.255.252.0
Subnet Mask = 255.255.252.0
หาจำนวน Host ได้จาก (2^0)-2=Host
(2 ^ 10) - 2 = 1022
ดังนั้นจำนวน Host = 1022
CIDR /18
11111111.11111111.11000000.00000000
255.255.192.0
Subnet Mask = 255.255.192.0
หาจำนวน Host ได้จาก (2^0)-2=Host
(2 ^ 14) – 2 = 16382
ดังนั้นจำนวน Hostจึง = 16382
CIDR /27
11111111.11111111.11111111.11100000
255.255.255.224
หาจำนวน Host ได้จาก (2^0)-2=Host
(2^5)-2 = 30
ดังนั้นจำนวน Host จึง = 30

ออกข้อสอบเรื่อง IP 5 ข้อ
1. IP ย่อมาจากข้อใดต่อไปนี้
ก. Internet Protocal .
ข. Inter Protocal
ค. Index Protocal
ง. Inter Properties
2. ผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ตแบ่งเป็นกี่ประเภท
ก. 1
ข. 2
ค. 3
ง. 4
3. โปรโตคอล หมายถึงข้อใดต่อไปนี้
ก. ข้อกำหนด หรือกฎของการสื่อสาร
ข. ทิศทางการสื่อสาร
ค. องค์ประกอบของการสื่อสาร
ง. เป็นการเชื่อมต่อกันทางกายของเครือข่าย
4. โทโปโลยี เป็นการเชื่อมต่อกันทางกายภาพของเครือข่าย ซึ่งสารมารถแบ่งออกได้เป็นแบบใดบ้าง
ก. Mesh Star Ring
ข. Mesh Star LAN
ค. Star Ring WAN
ง. Star Ring Hybrid
5. Internet protocol มีไว้เพื่ออะไร
ก. กฎเกณฑ์ในการเชื่อมต่อเดียวกัน
ข. มาตรฐานเดียวกัน
ค. ความเป็นเอกลักษณ์
ง. ความรวดเร็ว
เฉลย.
1. ก
2. ง
3. ก
4. ก
5. ข
ออกข้อสอบเรื่อง CIDR 5 ข้อ
1. CDIR ใช้โปรโตคอลใดต่อไปนี้
ก. BGP .
ข. GPM
ค. CMX
ง. MMX
2. CIDR ย่อมาจากอะไร
ก. Classless Inter-Domain Routing .
ข Class Inter – Domain Routing
ค Clear Inter – Domain Routing
ง Classless Inter Dynamic Routing
3. หมายเลข Subnet Mask 18 คือข้อใด
ก. 255.255.192.0 .
ข. 255.255.190.2
ค. 255.255.255.0
ง. 255.255.0.0
3. ข้อใดต่อไปนี้คือสูตรการหา Host
ก. (2^0)-2 .
ข. (0^2)+2
ค. (2^5)+2
ง. (0^2)-2
4. Private IP Address แบ่งเป็นกี่คลาสอะไรบ้าง
ก. 2 คลาส A และ B
ข. 3 คลาส A , B ,C .
ค. 4 คลาส A , B , C , D
ง . 5 คลาส A ,B ,C ,D ,E
5. CDIR แบ่งเป็นเลข 0 และ 1 รวมแล้วมีทั้งหมดกี่ตัวต่อ Subnet mask 1 ชุด
ก. 32 .
ข. 64
ค. 40
ง. 20
เฉลย
1. ก
2. ก
3. ก
4. ข
5. ก

แปลงIPเป็นbynary

แปลงเป็นจำนวนต่อไปนี้เป็น bynary
202.29.57.2

Bynary
11001010 00011101 00111001 00000010

Class C

ข้อสอบแอสกี

1.ตัวอักษร A ใหญ่ในรหัสแอสกีตรงกับเลขฐาน 2 คือข้อใด
ก.0110 0001
ข.0100 0001
ค.0100 0010
2.ตัวอักษร a เล็กในรหัสแอสกีตรงกับเลขฐาน 16 ข้อใด
ก.61
ข.41
ค.20
3.ช่องว่างในรหัสแอสกีตรงกับเลขฐานสิบคือข้อใด
ก.20
ข40
ค.32
เฉลย
1.ข
2.ก
3.ค