วันจันทร์ที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2551

สอบเก็บคะแนนครั้งที่ 2

1. Router มีกี่โหมด อะไรบ้าง อธิบายให้ละเอียด
ตอบ Routing มีอยู่ 2 แบบ หลักๆ ดังนี้
1. แบบสเตติก (Static Route)
คือการเลือกเส้นทางแบบ Static นี้ การกำหนดเส้นทางการคำนวณเส้นทางทั้งหมด กระทำโดยผู้บริหาจัดการเครือข่าย ค่าที่ถูกป้อนเข้าไปในตารางเลือกเส้นทางนี้มีค่าที่ตายตัว ดังนั้นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นใดๆ บนเครือข่าย จะต้องให้ผู้บริหารจัดการดูแล เครือข่าย เข้ามาจัดการทั้งสิ้น อย่างไรก็ดีการใช้ วิธีการทาง Static เช่นนี้ มีประโยชน์เเหมาะสำหรับเครือข่ายที่มีขนาดเล็กเพื่อผลแห่งการรักษาความปลอดภัยข้อมูล เนื่องจากสามารถแน่ใจว่า ข้อมูลข่าวสารจะต้องวิ่งไปบนเส้นทางที่กำหนดไว้ ช่วยประหยัดการใช้ แบนวิดท์ของเครือข่ายลงได้มาก เนื่องจากไม่มีปัญหาการ Broadcast หรือแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่าง Router ที่มาจากการใช้โปรโตคอลเลือกเส้นทางการจัดตั้ง Configuration

2. แบบไดนามิก (Dynamic Route)
คือการเลือกเส้นทางแบบ Dynamicในการจัดตั้งค่าสำหรับการเลือกเส้นทาง (Routing) แบบ Dynamic จะมี 2 คำสั่งสำหรับการใช้งาน ได้แก่ คำสั่ง Router และ Network โดยคำสั่ง Router เป็นคำสั่งที่ทำให้เริ่มต้นการเกิดกระบวนการเลือกเส้นทางขึ้น รูปแบบของคำสั่งมีดังนี้Router (config)#router protocol [keyword]ต่อไปนี้เป็นคำอธิบายรายละเอียดของรูปแบบคำสั่งProtocol เป็นโปรโตคอลเลือกเส้นทางแบบใดแบบหนึ่ง ระหว่าง RIP IGRP OSPF หรือ Enhanced IGRPKeyword ตัวอย่าง เช่น เลขหมายของ Autonomous ซึ่งจะถูกนำมาใช้กับโปรโตคอลที่ต้องการระบบ Autonomous ได้แก่ โปรโตคอล IGRPคำสั่ง Network ก็เป็นคำสั่งที่มีความจำเป็นต่อการใช้งานเช่นกัน เนื่องจากมันสามารถกำหนดว่า Interface ใดที่จะเกี่ยวข้องกับการรับหรือส่ง Packet เพื่อการ Update ตารางเลือกเส้นทาง ขณะเกิดกระบวนการเลือกเส้นทางขึ้นคำสั่ง Network จะเป็นคำสั่งที่ทำให้ โปรโตคอลเลือกเส้นทางเริ่มต้นทำงานบน Interface ต่างๆ ของ Router อีกทั้งยังทำให้ Router สามารถโฆษณาประชาสัมพันธ์เครือข่ายที่ตนดูแลอยู่ ได้อีกด้วย รูปแบบของคำสั่งมีดังนี้Router (config-router)#network network- numberNetwork-number ในที่นี้หมายถึง เครือข่ายที่เชื่อมต่อกันโดยตรง และ Network Number จะต้องอยู่ในมาตรฐาน เลขหมาย ของ INTERNIC8

2. จงบอกคำสั่งที่อยู่ในโหมดแต่ละโหมด โหมดละ 5 คำสั่ง
ตอบ 1.คำสั่ง access-enable เป็นการสร้าง Access List entry ชั่วคราว
2.คำสั่ง clear เป็นการ reset ค่า configure ต่างๆที่ท่านสร้างขึ้นชั่วคราว
3.คำสั่ง connect ใช้เพื่อ เปิด connection กับ terminal
4.คำสั่ง disable ปิดหรือยกเลิกคำสั่งที่อยู่ใน Privileged mode
5.คำสั่ง disconnect ยกเลิกการเชื่อมต่อใดๆกับ network
6.คำสั่ง enable เข้าสู่ privileged Exec mode
7.คำสั่ง exit ออกจากการใช้ User Exec mode
8.คำสั่ง help ใช้เพื่อแสดงรายการ help
9.คำสั่ง lat เปิดการเชื่อมต่อกับ LAT (เครือข่าย VAX)
10.คำสั่ง lock ใช้เพื่อ lock terminal

3.Command prompt ในโหมดต่างๆ
ตอบ
User Exec Commands
access-enable เป็นการสร้าง Access List entry ชั่วคราว
clear เป็นการ reset ค่า configure ต่างๆที่ท่านสร้างขึ้นชั่วคราว
connect ใช้เพื่อ เปิด connection กับ terminal
disable ปิดหรือยกเลิกคำสั่งที่อยู่ใน Privileged mode
disconnect ยกเลิกการเชื่อมต่อใดๆกับ network
enable เข้าสู่ privileged Exec mode
exit ออกจากการใช้ User Exec mode
help ใช้เพื่อแสดงรายการ help
lat เปิดการเชื่อมต่อกับ LAT (เครือข่าย VAX)
lock ใช้เพื่อ lock terminal
login loginเข้ามาเป็น user
logout exit ออกจาก EXEC
mrinfo ใช้เพื่อการร้องขอข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับ Version และสถานะของ Router เพื่อนบ้านจาก multicast router ตัวหนึ่ง
mstat แสดงสถิติหลังจากที่ได้ตามรอยเส้นทางแบบ Multicast ของ Router แล้ว
mtrace ใช้ติดตามดู เส้นทาง Multicast แบบย้อนกลับจาก ปลายทางย้อนกลับมาที่ต้นทาง
name-connectionเป็นการให้ชื่อกับ การเชื่อมต่อของเครือข่ายที่กำลังดำเนินอยู่
pad เปิดการเชื่อมต่อ X.25 ด้วย X.29 PAD
Ping ใช้เพื่อทดสอบการเชื่อมต่อ
ppp ใช้เรียกการเชื่อมต่อแบบ PPP
resume ใช้เพื่อการ กลับเข้าสู่การเชื่อมต่อของเครือข่ายอีกครั้ง
rlogin เปิดการเชื่อมต่อ remote Login กับ Server ระยะไกล
show แสดงข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการทำงานของ Router ในปัจจุบัน
lip เริ่มการใช้งาน Slip (serial line protocol)
systat เป็นการแสดงข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับ Terminal Line เช่นสถานะของระบบ
telnet เป็นการเปิด การเชื่อมต่อทาง Telnet
terminal เป็นการจัด Parameter ของ Terminal Line
traceroute เป็นการใช้ Traceroute เพื่อการติดตามไปดู ระบบที่อยู่ปลายทาง
tunnel เปิดการเชื่อมต่อแบบ Tunnel
where แสดงรายการ ของ Link ที่กำลัง Active ในปัจจุบัน

Privileged Mode
Access-enable เป็นการสร้าง Access List แบบชั่วคราว
Access-template สร้าง Access List แบบชั่วคราว
Clear เป็นคำสั่งที่ใช้เคลียร์ หน้าที่การทำงานต่างๆออกทั้งหมด
Clock จัดการระบบนาฬิกาของระบบ
Configure เข้าสู่ Configure Mode
Connect เปิดการเชื่อมต่อ Terminal
Copy เป็นการคัดสำเนาค่า Configuration และข้อมูล
Debug เป็นการใช้คำสั่ง debug
Disable เป็นการยกเลิก Privileged Mode
Disconnect ใช้เพื่อการ Disconnect การเชื่อมต่อของเครือข่ายที่กำลังดำเนินอยู่ในปัจจุบัน
Enable ใช้เพื่อเปิดการเข้าสู่ privileged mode
Erase ใช้เพื่อการลบข้อมูลใน Flash หรือหน่วยความจำที่เก็บ Configuration ใน Router
Exit ใช้เพื่อออกจาก EXEC mode
Help คำสั่ง help
Login ใช้เพื่อการ log on เข้าสู่ระบบ
Logout ใช้เพื่อการออกจาก EXEC
Mrinfo ใช้เพื่อการร้องขอข้อมูลข่าวสารจาก Multicast Router
Mstat แสดงสถิติหลังจากที่ได้ติดตามดูเส้นทางของ Router ต่างๆ
Mtrace ใช้เพื่อติดตามดู เส้นทางแบบย้อนกลับ จากปลายทางมายังต้นทาง
Name-connection ใช้เพื่อการตั้งชื่อ ให้กับเครือข่ายที่กำลังเชื่อมต่ออยู่
Ncia ใช้เพื่อการ Start และหยุดการทำงานของ NCIA Server
No ใช้เพื่อ disable function การทำงานของคำสั่ง debugging
Pad ใช้เพื่อเปิด X.29 PAD Connection
Ping ใช้เพื่อทดสอบการเชื่อมต่อด้วย Echo Message
ppp ใช้เพื่อ Start การทำงานของ PPP
reload ใช้เพื่อหยุดและ restart แบบ Cold Start (Reset ตัวเองแล้วเริ่มทำงานใหม่)
resume Resume การเชื่อมต่อกับเครือข่ายที่กำลัง Active อยู่
rlogin ใช้เพื่อเปิดการเชื่อมต่อ ด้วย rlogin
rsh ใช้เพื่อ execute คำสั่งแบบ Remote (การใช้คำสั่งทำงานบน Host อื่นแบบ Remote)
sdlc ใช้เพื่อการส่ง SDLC Test Frame
send ใช้เพื่อส่ง Message ไปที่ tty Line อื่นๆ
setup ใช้เพื่อ Run คำสั่งการ Setup
show ใช้เพื่อแสดงข้อมูลข่าวสาร ที่กำลังทำงานอยู่บน Router
slip ใช้เพื่อ Start การทำงานของ Serial Line IP (SLIP)
start-chat ใช้เพื่อ start chat สคริปบนสาย
systat ใช้เพื่อแสดงข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับ Terminal Line
telnet ใช้เพื่อเริ่มการทำงานของ Telnet
terminal ใช้เพื่อจัดตั้ง Parameter ของ Terminal Line
test มีไว้เพื่อการทดสอบ ระบบภายใน รวมทั้งหน่วยความจำและ Interface
traceroute เป็นการใช้คำสั่ง Traceroute กับอุปกรณ์หรือ Host ปลายทาง
tunnel เป็นการเปิดการเชื่อมต่อแบบ Tunnel
ndebug ใช้เพื่อยกเลิก การใช้ Debug
verify ใช้เพื่อ Verify ความถูกต้องของ File ที่อยู่ใน Flash Memory
where ใช้แสดงรายการ Connection ที่ยัง Active อยู่ในปัจจุบัน
which-route ใช้เพื่อค้นหาดู route table และแสดงผลออกมาให้ดู
write ใช้เพื่อ Save ค่า Configuration ไปที่ Memory เครือข่าย หรือ Terminal
x3 ใช้เพื่อจัดตั้ง X.3 Parameter บน PAD
xremote เข้าสู่ Xremote mode

Global Configuration Mode
aaa Authentication Authorization และ Accounting
access-list ใช้เพื่อเพิ่มเติมค่าใน Access list
alias ใช้เพื่อสร้าง Command Alias (ใช้เพื่อสร้างคำสั่งใหม่จากคำสั่งเดิมที่มีอยู่)
apollo คำสั่ง Apollo Global configuration Command
appletalk คำสั่ง Global Configuration สำหรับ เครื่อง Appletalk
arap Appletalk Remote Access Protocol
arp เป็นการตั้งค่า arp ในตาราง arp
async-bootp ใช้เพื่อ modify Parameter การทำงานของ Bootp
autonomous-system ใช้เพื่อกำหนดเจาะจงเลขหมาย AS ว่าขึ้นอยู่กับใคร
banner ใช้เพื่อนิยามการทำงานของ login banner
boot ใช้เพื่อ Modify Boot Parameter
buffers ใช้เพื่อการปรับแต่ง Parameter (ขนาด) ของ System Buffer
busy-message ใช้เพื่อแสดงข้อมูลข่าวสารต่างๆเมื่อการเชื่อมต่อกับ Host ล้มเหลว
cdp เป็นคำสั่งย่อย สำหรับการจัดตั้ง Global CDP Configuration
chat-script ใช้เพื่อกำหนดลักษณะการทำงานของ Modem Chat Scripts
clns เป็นคำสั่งย่อยสำหรับจัด Configured ให้กับ Global CLNS
clock ใช้เพื่อจัด Configure เกี่ยวกับ เวลา วัน เดือน ปี
config-register ใช้เพื่อจัดตั้ง Configuration Register
default กำหนดให้ Command line มีค่าเป็น Default
default-value ใช้เพื่อกำหนดให้ ค่า ของ Character Bit
dialer-list ใช้เพื่อการสร้าง dialer list entry
enable ใช้เพื่อ Modify enable password parameter
end ออกจาก Configure Mode
exit เป็นการออกจาก Configure Mode
help แสดง Help Menu
ostname จัดตั้งชื่อ network ให้กับระบบ
interface ใช้เพื่อเลือก Interface ที่ต้องการจะจัด Configure
ip เป็นคำสั่งย่อยสำหรับการจัด Configure Global IP
ipx เป็นคำสั่งสำหรับการจัด Configure ให้กับ Global ipx
kerberos ใช้เพื่อการจัด Configure ให้ระบบรักษาความปลอดภัย แบบ Kerberos
key key Management
keymap ใช้เพื่อการตั้งค่า Keymap ใหม่
line ใช้เพื่อการจัดตั้ง configure สำหรับ Terminal Line
login-string ใช้เพื่อนิยาม login string อย่างเจาะจงเฉพาะ host
map-class ใช้เพื่อการจัด Configure static map class
map-list ใช้เพื่อการจัด configure static map list
menu ใช้เพื่อการจัดตั้ง User Interface Menu
modemcap ฐานข้อมูลสำหรับเก็บค่าที่แสดงความสามารถของ Modem
multilink การจัด Configuration ให้กับ PPP Multilink
netbios การควบคุมการ access โดย NETBIOS
artition ใช้เพื่อแบ่ง partition ของอุปกรณ์
priority-list ใช้เพื่อการสร้าง priority list
prompt ใช้เพื่อการตั้ง Prompt ให้กับระบบ
ueue-list ใช้เพื่อการสร้างรายการ queue แบบ manual
rlogin เป็นคำสั่งที่ใช้ login เข้าไปที่ host ระยะไกล
rmon เรียกการทำงาน ของ remote monitoring ออกมาใช้งาน
router ใช้เพื่อ ทำให้กระบวนการ routing เริ่มทำงาน

4. User exec mode พร้อมรายละเอียด
ตอบ User Exec Mode เป็นโหมดแรกที่ท่านจะต้อง Enter เข้าไป เมื่อRouter เริ่มทำงาน วิธีที่จะรู้ว่าท่านได้เข้าสู่ User Exec Mode จาก Prompt ของ Router ได้แก่ Prompt ที่แสดงบนหน้าจอ ได้แก่ ชื่อของ Router แล้วตามด้วยเครื่องหมาย > เช่น Routerhostname > ต่อไปนี้ เป็นตารางแสดงรายการคำสั่ง ภายใต้ User Exec Commands
คำสั่ง ภายใต้ User Exec Commands
access-enable เป็นการสร้าง Access List entry ชั่วคราว
clear เป็นการ reset ค่า configure ต่างๆที่ท่านสร้างขึ้นชั่วคราว
connect ใช้เพื่อ เปิด connection กับ terminal
disable ปิดหรือยกเลิกคำสั่งที่อยู่ใน Privileged mode
disconnect ยกเลิกการเชื่อมต่อใดๆกับ network
nable เข้าสู่ privileged Exec mode
xit ออกจากการใช้ User Exec mode
help ใช้เพื่อแสดงรายการ help
at เปิดการเชื่อมต่อกับ LAT (เครือข่าย VAX)
lock ใช้เพื่อ lock terminal
login loginเข้ามาเป็น user
logout exit ออกจาก EXEC
mrinfo ใช้เพื่อการร้องขอข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับ Version และสถานะของ Router เพื่อนบ้านจาก multicast router ตัวหนึ่ง
mstat แสดงสถิติหลังจากที่ได้ตามรอยเส้นทางแบบ Multicast ของ Router แล้ว
mtrace ใช้ติดตามดู เส้นทาง Multicast แบบย้อนกลับจาก ปลายทางย้อนกลับมาที่ต้นทาง
name-connection เป็นการให้ชื่อกับ การเชื่อมต่อของเครือข่ายที่กำลังดำเนินอยู่
pad เปิดการเชื่อมต่อ X.25 ด้วย X.29 PAD
Ping ใช้เพื่อทดสอบการเชื่อมต่อ
ppp ใช้เรียกการเชื่อมต่อแบบ PPP
resume ใช้เพื่อการ กลับเข้าสู่การเชื่อมต่อของเครือข่ายอีกครั้ง
rlogin เปิดการเชื่อมต่อ remote Login กับ Server ระยะไกล
show แสดงข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการทำงานของ Router ในปัจจุบัน
slip เริ่มการใช้งาน Slip (serial line protocol)
systat เป็นการแสดงข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับ Terminal Line เช่นสถานะของระบบ
telnet เป็นการเปิด การเชื่อมต่อทาง Telnet
terminal เป็นการจัด Parameter ของ Terminal Line
traceroute เป็นการใช้ Traceroute เพื่อการติดตามไปดู ระบบที่อยู่ปลายทาง
tunnel เปิดการเชื่อมต่อแบบ Tunnel
where แสดงรายการ ของ Link ที่กำลัง Active ในปัจจุบัน

5. คำสั่งที่ใช้ตรวจสอบสถานะของ Router จงบอกอย่างน้อย 5 คำสั่ง
ตอบ ต่อไปนี้ เป็นคำสั่งที่ท่านสามารถนำมาใช้เพื่อการตรวจสอบสถานะการทำงานของ Cisco Router โดยที่คำสั่งเหล่านี้ ยังช่วยให้ท่านสามารถเฝ้าดู และตรวจสอบหาจุดเสียที่เกิดขึ้นกับ Router ดังกล่าวได้อีกด้วยคำสั่งที่ใช้เพื่อแสดงสถานะของ Router มีดังนี้
show Version เป็นคำสั่งที่ใช้แสดงการจัด Configuration ของระบบ Hardware เช่น Version ของ Software ที่ใช้ใน Router ชื่อของ Configuration File อันเป็นต้นฉบับ รวมทั้ง Boot Images
show Processes ใช้เพื่อแสดงข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับ โปรเซสที่กำลังเกิดขึ้น และยังดำเนินการอยู่ทั้งหมดภายใน Router
show Protocols ใช้แสดง Protocol ใน Router ที่ได้รับการจัด Configured เรียบร้อยแล้วโดยคำสั่งนี้ จะทำการแสดง Protocol ที่ทำงานในระดับชั้น Layer 3(Network Layer) ของ OSI Model
show Memory ใช้เพื่อการแสดงข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับหน่วยความจำในตัว Router รวมทั้งปริมาณของหน่วยความจำที่เหลือจากการใช้งาน
show ip route ใช้เพื่อการแสดงข้อมูลข่าวสารที่อยู่ใน ตารางเลือกเส้นทาง (Routing Table)
show flash แสดงข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับ อุปกรณ์ประเภท Flash Memory
show running-config ใช้เพื่อการแสดงค่าพารามิเตอร์ของ Configuration ต่างๆที่กำลังทำงานกันอยู่ในขณะนี้
show startup-config ใช้เพื่อการแสดง File ที่ใช้ backup ค่า Configuration ต่างๆ
show interfaces ใช้เพื่อการแสดงสถิติของ Interface ทั้งหมดที่ได้จัดตั้ง Configured เรียบร้อยแล้วบน Router

6. การเลือกเส้นทางแบบ Static คืออะไร
ตอบ คือการเลือกเส้นทางแบบ Dynamicในการจัดตั้งค่าสำหรับการเลือกเส้นทาง (Routing) แบบ Dynamic จะมี 2 คำสั่งสำหรับการใช้งาน ได้แก่ คำสั่ง Router และ Network โดยคำสั่ง Router เป็นคำสั่งที่ทำให้เริ่มต้นการเกิดกระบวนการเลือกเส้นทางขึ้น รูปแบบของคำสั่งมีดังนี้Router (config)#router protocol [keyword]ต่อไปนี้เป็นคำอธิบายรายละเอียดของรูปแบบคำสั่งProtocol เป็นโปรโตคอลเลือกเส้นทางแบบใดแบบหนึ่ง ระหว่าง RIP IGRP OSPF หรือ Enhanced IGRPKeyword ตัวอย่าง เช่น เลขหมายของ Autonomous ซึ่งจะถูกนำมาใช้กับโปรโตคอลที่ต้องการระบบ Autonomous ได้แก่ โปรโตคอล IGRPคำสั่ง Network ก็เป็นคำสั่งที่มีความจำเป็นต่อการใช้งานเช่นกัน เนื่องจากมันสามารถกำหนดว่า Interface ใดที่จะเกี่ยวข้องกับการรับหรือส่ง Packet เพื่อการ Update ตารางเลือกเส้นทาง ขณะเกิดกระบวนการเลือกเส้นทางขึ้นคำสั่ง Network จะเป็นคำสั่งที่ทำให้ โปรโตคอลเลือกเส้นทางเริ่มต้นทำงานบน Interface ต่างๆ ของ Router อีกทั้งยังทำให้ Router สามารถโฆษณาประชาสัมพันธ์เครือข่ายที่ตนดูแลอยู่ ได้อีกด้วย รูปแบบของคำสั่งมีดังนี้Router (config-router)#network network- numberNetwork-number ในที่นี้หมายถึง เครือข่ายที่เชื่อมต่อกันโดยตรง และ Network Number จะต้องอยู่ในมาตรฐาน เลขหมาย ของ INTERNIC8
7. การเลือกเส้นทางแบบ Dynamic คืออะไร
ตอบ คือการเลือกเส้นทางแบบ Static นี้ การกำหนดเส้นทางการคำนวณเส้นทางทั้งหมด กระทำโดยผู้บริหาจัดการเครือข่าย ค่าที่ถูกป้อนเข้าไปในตารางเลือกเส้นทางนี้มีค่าที่ตายตัว ดังนั้นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นใดๆ บนเครือข่าย จะต้องให้ผู้บริหารจัดการดูแล เครือข่าย เข้ามาจัดการทั้งสิ้น อย่างไรก็ดีการใช้ วิธีการทาง Static เช่นนี้ มีประโยชน์เเหมาะสำหรับเครือข่ายที่มีขนาดเล็กเพื่อผลแห่งการรักษาความปลอดภัยข้อมูล เนื่องจากสามารถแน่ใจว่า ข้อมูลข่าวสารจะต้องวิ่งไปบนเส้นทางที่กำหนดไว้ ช่วยประหยัดการใช้ แบนวิดท์ของเครือข่ายลงได้มาก เนื่องจากไม่มีปัญหาการ Broadcast หรือแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่าง Router ที่มาจากการใช้โปรโตคอลเลือกเส้นทางการจัดตั้ง Configuration
8. Protocol ที่เลือกเส้นทางแบบ dynamic มีอะไรบ้าง
ตอบ โปรโตคอลเลือกเส้นทางแบบ Dynamic มีอยู่ หลายรูปแบบ ดังนี้1. Interior Gateway Routing Protocol2.Exterior Gateway Routing Protocol3. Distance Vector Routing Protocol4. Link State Routing ProtocolInterior เป็น Protocol ที่ใช้แลกเปลี่ยนฐานความรู้ระหว่าง Roter ภายในองค์กรเดียวกัน ซึ่งได้แก่ RIP , IGRP ,EIGRP และ OSPF Exterior เป็น Protocol ที่ใช้แลกเปลี่ยนฐานความรู้ต่างองค์กรกันหรือความน่าเชื่อถือต่างกัน ซึ่งได้แก่ BGP, EGP Distance Vector เป็นโปรโตคอลเลือกเส้นทางที่ Router ใช้เพื่อการสร้างตาราง Routing และจัดการนำแพ็กเก็ตส่งออกไปยังเส้นทางที่กำหนด โดย อาศัยข้อมูลเกี่ยวกับระยะทาง เช่น Hop เป็นตัวกำหนดว่า เส้นทางใดเป็นเส้นทางที่ดีที่สุด ที่จะนำแพ็กเก็ตส่งออกไปที่ปลายทาง โดยถือว่า ระยะทางที่ใกล้ที่สุด เป็นเส้นทางที่ดีที่สุด และแอดเดรส ของเครือข่ายปลายทางเป็น VectorLink State Routing ถูกเรียกว่า "Shortest Path First (SPF)" Algorithm ด้วย Link State Routing นี้ Router แต่ละตัวจะทำการ Broadcast ข้อมูลข่าวสารออกมายัง Router ที่เชื่อมต่อกับมันโดยตรงแบบเป็นระยะๆ ข้อมูลข่าวสารนี้ยังครอบคลุมไปถึงสถานะของการเชื่อมต่อระหว่างกันRouting Protocols (เส้นทางการเชื่อมต่อ)Exterior routing Protocol (EGP) เป็นโปรโตคอล สำหรับการแลกเปลี่ยนข้อมูลของ router ระหว่าง 2 เครือข่ายของ gateway host ในระบบเครือข่ายแบบอัตโนมัติ ซึ่ง EGP มีการใช้โดยทั่วไป ระหว่าง host บนอินเตอร์เน็ต เพื่อแลกเปลี่ยนสารสนเทศของตาราง routing โดยตาราง routing ประกอบด้วยรายการ router ตำแหน่งที่ตั้ง และเมทริกของค่าใช้จ่ายของแต่ละ router เพื่อทำให้สามารถเลือกเส้นทางที่ดีที่สุด กลุ่มของ router แต่ละกลุ่มจะใช้เวลาภายใน 120 วินาที ถึง 480 วินาที ในการส่งข้อมูลส่งตาราง routing ทั้งหมดไปยังเครือข่ายอื่น ซึ่ง EGP -2 เป็นเวอร์ชันล่าสุดของ EGP Border Gateway Protocol (BGP) เป็นโปรโตคอลสำหรับการแลกเปลี่ยนข้อมูลของเส้นทางระหว่าง gateway host (ซึ่งแต่ละที่จะมี router ของตัวเอง) ในเครือข่ายแบบอัตโนมัติ BGP มักจะได้รับการใช้ระหว่าง gateway host บนระบบอินเตอร์เน็ต ตาราง routing ประกอบด้วยรายการของ router ตำแหน่งและตารางค่าใช้จ่าย (cost metric) ของเส้นทางไปยังrouterแต่ละตัวเพื่อการเลือกเส้นทางที่ดีที่สุด host ที่ใช้การติดต่อด้วยประเภทของ Routing ภายใน Network ที่เชื่อมต่อกับเนตเวิคโดยตรงRouting Information Protocol (RIP) เป็นโปรโตคอลที่ใช้อย่างกว้างขวาง สำหรับการจัดการสารสนเทศของ router ภายในเครือข่าย เช่น เครือข่าย LAN ของบริษัท หรือการติดต่อภายในกลุ่ม ของเครือข่าย RIP ได้รับการจัดชั้นโดย Internet Engineering Task Force (IETF) ให้เป็นหนึ่งในโปรโตคอลของInternet Gateway Protocol (หรือ InteriorGatewayProtocol)Open Shortest Path First (OSPF) ถือเป็น เร้าติ้งโปรโตคอล (Routing Protocol) ตัวหนึ่งที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลายมากที่สุดในระบบเน็ตเวิร์ก เนื่องจากมีจุดเด่นในหลายด้าน เช่น การที่ตัวมันเป็น Routing Protocol แบบ Link State, การที่มีอัลกอรึทึมในการค้นหาเส้นทางด้วยตัวเอง ซึ่งเปรียบเสมือนว่า ตัวของ เราเตอร์ที่รัน OSPF ทุกตัวเป็นรูท (Root) หรือ จุดเริ่มต้นของระบบไปยังกิ่งย่อยๆ หรือโหนด (Node) ต่างๆ ซึ่งเป็นเทคนิคในการลดเส้นทางที่วนลูป (Routing Loop) ของการ Routing ได้เป็นอย่างดีEnhance Interior Gateway Routing Protocol (EIGRP) นั้นถือได้ว่าเป็น เราติ้งโปรโตคอลที่มีความรวดเร็วสูงสุดของซิสโก้ในการค้นหาเส้นทางภายใน Intra-AS (Interior Routing Protocol: เราติ้งโปรโตคอลภายใน Autonomous System) ซึ่ง ในเราติ้งโปรโตคอลแบบ EIGRP นี้ จะเป็นการนำเอาข้อดีของการเราติ้งแบบ Distance Vector และ Link State มาผสมผสานกัน (ในหนังสือบางเล่มจะเรียก เราติ้งโปรโตคอลแบบนี้ว่า “Hybrid” (ลูกผสม) หรือ Advanced Distance Vector)
9. อธิบาย Protocol Diatyance Vecter ให้เข้าใจ
ตอบ ลักษณะที่สำคัญของการติดต่อแบบ Distance-vector คือ ในแต่ละ Router จะมีข้อมูล routing table เอาไว้พิจารณาเส้นทางการส่งข้อมูล โดยพิจารณาจากระยะทางที่ข้อมูลจะไปถึงปลายทางเป็นหลัก จากรูป Router A จะทราบว่าถ้าต้องการส่งข้อมูลข้ามเครือข่ายไปยังเครื่องที่อยู่ใน Network B แล้วนั้น ข้อมูลจะข้าม Router ไป 1 ครั้ง หรือเรียกว่า 1 hop ในขณะที่ส่งข้อมูลไปยังเครื่องใน Network C ข้อมูลจะต้องข้ามเครือข่ายผ่าน Router A ไปยัง Router B เสียก่อน ทำให้การเดินทางของข้อมูลผ่านเป็น 2 hop อย่างไรก็ตามที่ Router B จะมองเห็น Network B และ Network C อยู่ห่างออกไปโดยการส่งข้อมูล 1 hop และ Network A เป็น2 hop ดังนั้น Router A และ Router B จะมองเห็นภาพของเครือข่ายที่เชื่อมต่ออยู่แตกต่างกันเป็นตารางข้อมูล routing table ของตนเอง จากรูปการส่งข้อมูลตามลักษณะของ Distance-vector routing protocol จะเลือกหาเส้นทางที่ดีที่สุดและมีการคำนวณตาม routing algorithm เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ออกมา ซึ่งมักจะเลือกเส้นทางที่ดีที่สุดและมีจำนวน hop น้อยกว่า โดยอุปกรณ์ Router ที่เชื่อมต่อกันมักจะมีการปรับปรุงข้อมูลใน routing table อยู่เป็นระยะๆ ด้วยการ Broadcast ข้อมูลทั้งหมดใน routing table ไปในเครือข่ายตามระยะเวลาที่ตั้งเอาไว้การใช้งานแบบ Distance-vector เหมาะกับเครือข่ายที่มีขนาดไม่ใหญ่มากและมีการเชื่อมต่อที่ไม่ซับซ้อนเกินไป ตัวอย่างโปรโตคอลที่ทำงานเป็นแบบ Distance-vector ได้แก่ โปรโตคอล RIP (Routing Information Protocol) และโปรโตคอล IGRP (Interior Gateway Routing Protocol) เป็นต้น
10. Protocol BGP คืออะไรมีหลักการทำงานอย่างไร
ตอบ Protocol เลือกทางเดิน Gateway ภายนอกเครือข่ายแบบ BGP
Protocol OSPF เป็น Protocol ที่กำลังได้รับการสนับสนุนให้เป็นมาตรฐานในการเลือกทางเดินข้อมูลภายในเครือข่ายอัตโนมัติบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ส่วน Protocol BGP (Border Gateway Protocal) ได้รับการพัฒนาขึ้นมาให้สำหรับการเลือกทางเดินระหว่างเครือข่ายอัตโนมัติ ทั้งนี้เนื่องจากการเลือกทางเดินภายในจะคำนึงถึงค่าใช้จ่ายเป็นหลัก แต่การเลือกทางเดินระหว่างเครือข่าย จะต้องนำนโยบายของแต่ละระบบมาร่วมพิจารณาด้วย
ตัวอย่างเช่นระบบเครือข่ายอัตโนมัติขององค์กรทั่วไป มีความต้องการที่จะรับและส่งข้อมูลไปยัง Host ใด ๆ ในระบบอินเทอร์เน็ต ในขณะเดียวกันก็ไม่ต้องการให้ตนเองทำหน้าที่เป็นตัวกลางในการรับและส่งข้อมูลให้กับเครือข่ายอื่น ๆ อย่างไรก็ตามองค์กรเหล่านี้ยินดีอย่างยิ่งในการให้บริการแก่ทุกเครือข่ายที่จ่ายค่าบริการ ดังเช่นองค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทยที่มีความรู้พร้อมทุกด้านที่จะให้บริการแก่ลูกค้าที่ชำระค่าบริการอย่างสม่ำเสมอ Protocol BGP ได้รับการออกแบบมาให้จัดการกับปัญหาเหล่านี้
นโยบายที่ใช้กันทั่วไปในระบบเครือข่ายอัตโนมัติจะเกี่ยวข้องกับ การเมือง, การปกครอง, การรักษาความปลอดภัย, และการพาณิชย์ ตัวอย่างเช่น
1. ไม่อนุญาตให้ฝากส่งข้อมูลผ่านบางพื้นที่2. ไม่ส่งข้อมูลของ IBM ผ่านระบบของ Microsolf3. ไม่ส่งข้อมูลออกนอกเขตประเทศไทยยกเว้นเป็นการสื่อสารระหว่างประเทศ4. ไม่ส่งข้อมูลผ่านระบบเครือข่ายทหาร ยกเว้นในกรณีที่ไม่มีทางเลือกอื่น5. ไม่เลือกระบบนนทรีเน็ทไว้ในเส้นทางที่เริ่มต้นจาก NECTEC
นโยบายของแต่ละแห่งจะถูกบันทึกไว้ใน Router BGP แต่ละตัวในลักษณะของข้อมูล แต่ไม่ใช่ส่วนประกอบของ Protocol
Router BGP จะมองเห็นระบบเครือข่ายประกอบด้วย Router BGP ตัวอื่น ๆ ซึ่งมีสายสื่อสารเชื่อมต่อถึงกัน Router BGP สองตัวจะถือว่าต่อถึงกันถ้า Router คู่เป็นส่วนร่วมของเครือข่ายเดียวกัน ถ้าต้องการพิจารณาในเรื่องการฝากส่งข้อมูล ระบบเครือข่ายจะถูกแบ่งออกเป็นสามประเภท ประเภทที่หนึ่งเรียกว่า เครือข่ายต้นตอ (Stub Networks) ซึ่งจะมีสายสื่อสารเชื่อมต่อกับ Router BGP เพียงสายเดียว ดังนั้นจึงไม่สามารถรับหน้าที่ในการฝากข้อมูลได้ ประเภทที่สองเรียกว่า เครือข่ายเชื่อมต่อหลายจุด (Multiconnected Networks) เครือข่ายประเภทนี้สามารถให้บริการฝากส่งข้อมูลโดยเฉพาะ ได้แก่เครือข่ายระบบสื่อสารหลัก

11. สายใยแก้วนำแสงมีกี่ชนิด
ตอบ 2 ชนิดคือ
1 เส้นใยแก้วนำแสงโหมดเดียว
เส้นใยแก้วนำแสงโหมดเดียวมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของแกนและแคลดประมาณ 5-10 และ 125 ไมคอน ตามลำดับ ซึ่งส่วนของแกนมีขนาดเล็กกว่าเส้นใยแก้วนำแสงชนิดหลายโหมดมาก แลให้ แสงออกมาเพียงโหมดเดียว
2.เส้นใยแก้วนำแสงหลายโหมด
โครงสร้างภายในเส้นใยแก้วนำแสง ซึ่งประกอบด้วยแกนและแคลดดังได้กล่าวมาแล้วข้างต้นสำหรับเส้นใยแก้วหลายโหมดส่วนใหญ่ มีเส้นผ่าศูนย์กลางของแกนแคลดประมาณ 50 ไมคอน และ 125 ตามลับ เนื่องจากขนาดของเส้นผ่าศูนย์กลางของแกนของเส้นใยแก้วนำแสง หลายโหมดนั้นมีขนาดใหญ่ดังนั้น แสงที่ตกกระทบที่ปลายอินพุตของเส้นใยแก้วนำแสงมีมุมตกกระทบที่แตกต่างกัน หลายค่า จากหลักการสะท้อนกลับหมดของแสงที่เกิดขึ้นภายในส่วนของ แกนทำให้มีแนวลำแสงเกิดขึ้นหลายโหมด และแสงแต่ละโหมดใช้เวลาเดินทางโดยใช้ระยะเวลาเดินทางที่แตกต่างกัน อันเป็นเหตุให้เกิดการแตกกระจายของโหมดแสง ( Mode Dispersion ) หรือของสัญญาณที่ได้รับได้เนื่องจากความแตกต่างของเวลา จึงได้มีการพัฒนาจะลดการแตกกระจายของสัญญาณซึ่ง เกิดขึ้นจากเส้นใยแก้วนำแสงหลายโหมดด้วนการ ปรับปรุงลักษณะดัชนีการหลักเหของแสงของแกน

12. สัญญาณของสายใยแก้วนำแสงชนิดต่างๆ
ตอบ Fiber Optic Distribution Unit
เป็นแบบติดผนัง (wall mount enclosure) มีกุญแจสำหรับเปิดปิดตู้
อุปกรณ์กระจายสายจะต้องมี accessories สำหรับขดสาย หรือเก็บสาย (Cable Management System)
อุปกรณ์กระจายสายจะต้องสามารถติด label เพื่อสะดวกในการจัดการสาย
อุปกรณ์กระจายสายจะต้องสามารถเพิ่มเติม, เปลี่ยนแปลงจำนวนหรือประเภทของ connector ได้ง่าย โดยการเพิ่มหรือลด หรือเปลี่ยน Adapter Plate
มีแผ่นปิดช่องที่ไม่ได้ใช้งาน
สามารถติดตั้ง อแดปเตอร์แบบ ST 6-36 Ports
Fiber Optic Patch Cordชนิด Multimode

สายใยแก้วนำแสง 1 เส้นจะต้องมี 2 แกน ขนาด 50/125 ไมครอน
ปลายสายเป็นหัวต่อแบบ ST-LC style หรือ ST-SC style หรือ ST-ST Style ตามความเหมาะสมกับอุปกรณ์ที่ใช้
มีรหัสบอกถึงการไขว้สาย TX/RX
มีความยาวของสายไม่น้อยกว่า 2 เมตร
Fiber Optic Patch Cordชนิด Single mode
สายใยแก้วนำแสง 1 เส้นจะต้องมี 1 แกน ขนาด 9/125 ไมครอน
ปลายสายเป็นหัวต่อแบบ ST-LC style หรือ ST-SC style หรือ ST-ST Style ตามความเหมาะสมกับอุปกรณ์ที่ใช้
มีรหัสบอกถึงการไขว้สาย TX/RX
มีความยาวของสายไม่น้อยกว่า 2 เมตร
สาย Pigtail สำหรับต่อสายที่เดินระหว่างอาคาร
สาย Pigtail สำหรับต่อสายที่เดินระหว่างอาคาร และ อุปกรณ์กระจายสายใยแก้วนำแสง
เป็นสาย pigtailชนิด ST-Style Connector Multimode หรือ Single mode ตามขนาดและชนิด ความยาว 1.5 m

13. จงบอกข้อดีของเส้นใยแก้วนำแสง
ตอบ 1. มีน้ำหนักเบาและไม่เป็นสนิม ซึ่งเหมาะมากสำหรับใช้งานในยานอวกาศ และรถยนต์2. เส้นใยแสง 1 เส้น สามารถที่จะมีช่องสัญญาณเสียงได้มากเท่ากับ 1500 คู่สาย3. ความห่างของตัวขยายสัญญาณสำหรับเส้นใยแสงมีค่าตั้งแต่ 35 ถึง 80 กิโลเมตร ซึ่งตรงข้ามกับสายธรรมดา ซึ่งมีค่าตั้งแต่ 1 ถึงแค่ 1.5 กิโลเมตรเท่านั้น4. เส้นใยแสงจะไม่มีการรบกวนจากฟ้าแลบ และการแผ่รังสีของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
14. ขนาดของ Core และ Cladding ในเส้นใยแก้วนำแสงแต่ละชนิด
ตอบ แท่งควอร์ต ซึ่งผ่านกระบวนการ Modefied Chemical Vapor Deposition (MCVD) แล้วจะถูกวางในแนวตั้งในหอดึง (Drawing Tower) ซึ่งจะถูกให้ความร้อนต่ออีก (2200 F) และถูกดึงลงด้านล่าง โดยหลักการของการหลอมเหลวควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์ และขบวนการการดึง เพื่อจะทำให้เส้นใยแสงคุณภาพสูง มีความยาวประมาณ 6.25 กิโลเมตร และเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 125 ไมโครเมตร ศูนย์กลางซึ่งถูกเรียกว่า แกน หรือ CORE (เส้นผ่าศูนย์กลาง 8 ไมโครเมตร) จะถูกล้อมรอบด้วยควอร์ตที่บริสุทธิ์น้อยกว่า ซึ่งถูกเรียกว่า ชั้นคลุม หรือ cladding (ขอบเขตประมาณ 117 ไมโครเมตร
15. การเชื่อมต่อโดยวิธีการหลอมรวม (Fusion Splicing) ทำได้โดยวิธีใด
ตอบ การเชื่อมต่อแบบหลอมรวม เป็นการเชื่อมต่อ Fiber Optic สองเส้นเข้าด้วยกัน โดยการให้ความร้อนที่ปลายของเส้น Fiber Optic จากนั้นปลายเส้น Fiber Optic จะถูกดันออกมาเชื่อมต่อกัน การเชื่อมต่อกันในลักษณะนี้ เป็นการเชื่อมต่อโดยถาวร จนทำให้ดูเหมือนรวมเป็นเส้นเดียวกัน การสูญเสียจากการเชื่อมต่อในลักษณะนี้ จะทำให้มีความสูญเสีย ประมาณ 0.01 - 0.2 dB ในขั้นตอนการเชื่อมต่อนี้ ความร้อนที่ทำให้ปลายเส้น Fiber Optic อ่อนตัวลงด้วยประกายไฟที่เกิดจากการ Arc ระหว่างขั้ว Electrode ขณะทำการ หลอมรวม ซึ่งจะยังผลให้การเชื่อมต่อของ Fiber Optic เป็นเนื้อเดียวกัน


ไม่มีความคิดเห็น: